Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคหัวใจพิการที่เกิดขึ้นภายหลัง (Acquired Heart Disease), นางสาวกัสมา…
โรคหัวใจพิการที่เกิดขึ้นภายหลัง (Acquired Heart Disease)
ความหมาย
ความผิดปกติของหัวใจซึ่งไม่ได้เป็นมาแต่กำเนิด อาจเกิดขึ้นในระยะใดๆของการเจ็บป่วยด้วยโรคในระบบต่างๆในร่างกาย ซึ่งมีผลทำให้เกิดความผิดปกติในด้านโครงสร้างของหัวใจหรือในด้านการทำงาน ของหัวใจ หรือทั้งสองอย่างร่วมกันจน ทำให้เด็กมีอาการหรือตรวจพบความผิดปกตินั้นได้
โรคไข้รูมาติค (Rheumatic fever
เป็นกลุ่มอาการของการอักเสบที่เกิดขึ้นตามหลังจากการติดเชื้อที่คอ หรือต่อมทอนซิลจากเชื้อโรค Beta hemolytic streptococcus group A ซึ่งเข้าทางปากและล าคอเด็กลักษณะพิเศษของโรค
โรคหัวใจรูมาติค (Rheumatic Heart Disease)
เป็นความผิดปกติของลิ้นหัวใจซึ่งเกิดจากกระบวนการอักเสบของกล้ามเนื้อ เยื่อหุ้มและหัวใจ จากเป็นไข้รูมาติค (Rheumatic fever) นำมาก่อนภาวะการอักเสบ ส่งผลให้เกิดการเสียหน้าที่ของลิ้น
หัวใจไปในระยะหลัง
พยาธิ
กลไกของการเกิดโรคเข้าใจว่าเกี่ยวข้องกับความผิดปกติทางระบบภูมิคุ้มกัน (Immunopathology) ทำให้มีการทำลายของกล้ามเนื้อหัวใจ โดยเฉพาะที่ผังของ left ventricle, mitral valve, aortic valve และเยื่อหุ้มหัวใจ การอักเสบจะเป็นแบบ exudative inflammation เกิด granulomatus tissue และ fibrosis
การอักเสบซ้ำๆ จะทำให้ลิ้นหัวใจตีบหรือรั่วได้
อาการและอาการแสดง
อาการทาง minor criteria
Fever
Prolonged P-R interval
increase ESR, C-Reactive protein และ leukocytosis
Previous Rheumatic fever or RHD
Arthalgia
อาการทาง major criteria
Chorea
อาการแสดงทางผิวหนัง
Carditis
. Polyarthritis
การวินิจฉัยว่าเป็นไข้รูมาติค ต้องพบว่ามี 2 major criteria ขึ้นไปหรือพบ 1 major ร่วมกับ 2 minor criteria
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ
ตรวจร่างกาย
พบอาการดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เพาะเชื้อจากคอ ตรวจหา Beta hemolytic streptococcus group A
Antistreptolysin O (ASO) ในเลือดมากกว่า 320 Todd unit
ESR (Erythrocyte Sedimentation rate) เพิ่มขึ้น
C-reactive protein ให้ผลบวก
ภาพรังสีทรวงอก
พบเงาหัวใจโตกว่าปกติ ปอดบวมน้ำ มีน้ำในช่อง
เยื่อหุ้มหัวใจ เยื่อหุ้มปอด
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
P-R interval ยาวกว่าปกติ T-wave ผิดปกติ
คลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ
ช่วยวินิจฉัยการมีน้ำในเยื่อหุ้มหัวใจ
การรั่ว/ตีบของลิ้นหัวใจ
การรักษา
ให้ยากำจัดเชื้อโรค Beta hemolytic streptococcus ได้แก่ ยา Penicillin, Erythromycin
ให้ยาสำหรับลดการอักเสบ ได้แก่ Salicylate และ Steroid
ให้นอนพัก 2-6 สัปดาห์/เคลื่อนไหวไปมาในห้อง
ถ้ามี Chorea ให้ Phenobarbital, Diazepam
ผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจวาย ให้ digitalis ร่วมกับยาขับปัสสาวะเพื่อช่วยในการขยายหลอดเลือด
บทบาทของพยาบาลต่อผู้ป่วยโรคหัวใจและครอบครัว
การพยาบาล
การป้องกันโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด
สังเกตอาการของโรคหัวใจในทารกแรกเกิด
ดูแลเด็กที่ป่วยในโรงพยาบาล
ให้เด็กและครอบครัวทราบถึงแนวทางการรักษา
ดูแลผู้ป่วยก่อนผ่าตัดและหลังผ่าตัดหัวใจ
ดูแลด้านจิตใจของพ่อแม่
การวางแผนการจำหน่ายผู้ป่วย
ฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยเมื่อได้รับการผ่าตัดหรือรักษาแล้ว
นางสาวกัสมา กำพวน 621001014
อ้างอิง
ชัญญานุช เครือหลี. (2564). การพยาบาลเด็กจนถึงวัยรุ่นที่มีปัญหาระบบหัวใจ. สืบค้นวันที่ 30 สิงหาคม 2564. จาก
https://drive.google.com/file/d/1MMmsFZukGHPqwfjDSaBjRAJ4L5fXd2