Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7การพยาบาล ผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบประสาทระยะวิกฤต, Screenshot 2021-08…
บทที่ 7การพยาบาล
ผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบประสาทระยะวิกฤต
การประเมินอาการ
ทางระบบประสาท
การประเมินเกี่ยวกับการรู้สติ
ระดับความรู้สึกตัว
(Level of Consiousness)
• Full or Alert เป็นภาวะที่มีระดับการรู้สติเป็นปกต
Confusion สูญเสียความสามารถในการคิด
Stupor เป็นระยะที่ซึมมาก หลับมากกว่าตื่น
Semicomaเป็นอาการกึ่งหมดสติ หลับตลอดเวลา
Coma เป็นภาวะที่หมดสต
การประเมินการเคลื่อน
ไหวและกำลังของแขนขา
(Motor power)
เกรด/ระดับ 0 = กล้ามเนื้อเป็นอัมพาต
เกรด/ระดับ 1 =มีการ
เคลื่อนไหวปลายนิ้วมือ-เท้าได้เล็กน้อย
เกรด/ระดับ 2 = กล้ามเนื้อมีแรงที่จะเคลื่อนไหวข้อตามแรงโน้มถ่วงได
เกรด/ระดับ 3 = แขนหรือขาสามารถยกได้ แต่ต้านแรงที่กดไว้ไม่ได
กรด/ระดับ 4 = แขนหรือขาสามารถยกได้ แต่ต้านแรงที่กดได้น้อยกว่าปกต
เกรด/ระดับ 5 = แขนหรือขามีก าลังปกต
( Sensory Function)
การตรวจอาการของการระคายเยื่อหุ้มสมอง
คอแข็ง (Stiff neck )
Brudzinki’s sign
Kernig sign
(coma scale)
(Eye opening = E)
-ลืมตาได้เอง ให้ 4 คะแนน
-ลืมตาเมื่อเรียก ให้ 3 คะแนน
-ลืมตาเมื่อเจ็บ ให้ 2 คะแนน
-ไม่ลืมตาเลย ให้ 1 คะแนน
(Best verbal response = V)
-พูดคุยได้ไม่สับสน ให้5คะแนน
พูดคุยได้แต่สับสน ให้ 4 คะแนน
-พูดเป็นค่ำๆ ให้3คะแนน
-ส่งเสียงไม่เป็นคำพูด ให้ 2 คะแนน
-ไม่ออกเสียงเลย ให้ 1 คะแนน
(Best motor
response = M)
ทำตามคำสั่ง ให้ 6 คะแนน
ทราบตำแหน่งที่เจ็บ ให้5 คะแนน
ชักแขน ขาหนี เมื่อเจ็บ ให้4 คะแนน
แขนงอเข้าหาตัวเมื่อเจ็บ ให้ 3 คะแนน
แขนเหยียดเกร็งเมื่อเจ็บ ให้ 2 คะแนน
ไม่มีการเคลื่อนไหว ให้ 1 คะแนน
กระดับความรุนแรงของการบาดเจ็บ
-การบาดเจ็บที่ศีรษะระดับเล็กน้อย
มีค่าคะแนนตั้งแต่ 13-15 คะแนน
-การบาดเจ็บที่ศีรษะระดับปานกลาง
มีค่าคะแนนอยู่ระหว่าง 9-12 คะแนน
-- การบาดเจ็บที่ศีรษะระดับรุนแรง
มีค่าคะแนนต่ ากว่าหรือเท่ากับ 8 คะแนน
การบาดเจ็บไขสันหลัง
Spinal cord injury
การบาดเจ็บของกระดูก
การบาดเจ็บของกล้ามเนื้อ
ประเภทของการบาดเจ็บไขสันหลัง
บาดเจ็บไขสันหลังชนิดสมบูรณ์
Tetraplegia (Quadriplegia)การอ่อนแรงหรือ
อัมพาตของแขนขาและล้าตัว อาจเป็นทั้งหมดหรือบางส่วน
paraplegia หมายถึง การอ่อนแรงหรืออัมพาตของขา หรือทั้งขา
และล้าตัว อาจเป็นทั้งหมดหรือบางส่วน
บาดเจ็บไขสันหลังชนิดไม่สมบูรณ์
Anterior spinal cord syndrome- เกิดจากไขสันหลังส่วนหน้าถูกท้าลาย
Central spinal cord syndromeไขสันหลัง
ระดับคอส่วนกลางถูกท้าลาย
Brown-Sequard syndrome
(Hemicord lesion)กิดขึ้นที่ส่วนครึ่งหนึ่งของไขสัน
หลัง
posterior cord syndromeมีการบาดเจ็บบริเวณส่วนหลัง
Conus medullaris syndrome
(Sacral cord injuryมีการ
บาดเจ็บของไขสันหลังระดับกระเบนเหน็บ
Cauda equina syndrome รากประสาทระดับเอว
และกระเบนเห็บได้รับบาดเจ็บ
Spinal contussion ภาวะที่ไขสันหลังได้รบการ
กระทบกระเทือน
การดูแล
ดูแลระบบทางเดินหายใจให้โล่ง
การดูแลห้ามเลือดในที่เกิดเหต
เคลื่อนย้าย (transportation)
การดูแลระยะเฉียบพลัน
ประเมินการหายใจ O2 sat
ารให้สารน้้าเริ่มต้น เป็น 0.9%NSS ใน
ผู้ป่วยที่มีภาวะ shock
การให้ยา
Methylprednisolone
ให้ O2
ประเมิน bowel sound
คาสายสวนปัสสาวะ
จัดหาเตียงให้เหมาะสม
Spinal shock
อวัยวะที่อยู่ต่้ากว่าระดับไขสันหลังได้รับบาดเจ็บจะเป็นอัมพาตแบบอ่อนปวกเปียก
ความดันโลหิตต่้า
ไม่มีรีเฟล็กซ
ผิวหนังแห้งและเย็น
Neurogenic shock
ภาวะช็อค ที่เกิดจากความผิดปกติของระบบประสาท
Bradycardia
hypothemia
หลักการดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลัง
ระบบทางเดินหายใจ
ใส่ท่อช่วยหายใจ C4
ออกซิเจนอย่างเพียงพอ C5-C6
ผู้ป่วยอาจมีบาดเจ็บอื่นร่วมด้วยซึ่งในกรณีที่ต้องใส่ท่อระบายทรวงอกเพื่อให้ปอดขยายตัวได้ดีขึ้น
การไหลเวียนและหลอดเลือด
ดูแลให้หัวใจมีอัตราการเต้นที่เหมาะสม
ควบคุมความดันโลหิต
่งเสริมการไหลเวียนเลือดของแขน ขา ทีเป็นอัมพาต
การดูแลภาวะหัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ
ระบบทางเดินอาหาร
ภาวะท้องอืด
ประเมิน bowel sound
.ใส่ NG tube เพื่อระบายลมในล้าไส
ให้NPO
แผลในกระเพาะอาหาร
ประเมิน SBP < 85 mmHg
Hct หรือ Hb ลดลงน้อยกว่า 10 gm%
อาเจียนออกมาเป็นเลือดสด
ระบบผิวหนัง
พลิกตะแคงตัวทุก 2 ชม
งดการใช้ความร้อนจัด เย็นจัด
ดูแลไม่ให้เปียกชื้น
เมื่อเกิดแผลกดทับ เฝ้าระวังการติดเชื้อ
การบาดเจ็บที่ศีรษะ Head injury
1.การบาดเจ็บโดยตรง
บาดเจ็บที่เกิดขณะศีรษะอยู่นิ่ง
บาดเจ็บที่เกิดขณะศีรษะเคลื่อนที่
การบาดเจ็บโดยอ้อม
บาดเจ็บที่ศีรษะระยะแรก primary head injury
หนังศีรษะ ( scalp )
กะโหลกศีรษะ ( skull )
เนื้อสมองช้ำ( brain contusion )
บาดเจ็บที่ศีรษะระยะที่สอง secondary head injury
Intracranial hematoma
epidural hematoma - EDH
subdural hematoma – SDH
Subarachnoid hemorrhage
intracerebral hematoma - ICH
สมองบวม (cerebral edema)
Vasogenic edema
Cytotoxic edema
วิธีการรักษา
การผ่าตัด
Craniotomy คือการผ่าตัดเปิด
กะโหลกศีรษะแล้วปิดกะโหลก
Osteoplastic flap
Free bone flap
Craniectomy คือ การผ่าตัดเปิดกะโหลกแล้วไม่ปิด
Primary decompressive craniectomy
Secondary decompressive craniectomy
Cranioplasty
คือ การผ่าตัดปิดกะโหลก
ศีรษะในภายหลัง
การใช้ยา
sedative
muscle relaxant
Hydrocephalus
1.แบ่งตามการอุดตันทางเดินน้ำหล่อสมองไขสันหลัง
การอุดตันโพรงสมอง
การอุดตันนอกโพรงสมอง,การสร้าง
หรือการดูดซึมน้ำหล่อสมองและไขสันหลังผิดปกติ
แบ่งตามพยาธิสรีรวิทยากลไกการเกิด
การสร้างน้ำในโพรงสมองมากเกิน
การอุดตันทางเดินน้ าหล่อสมองและไขสันหลัง
การดูดซึมน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง
การรักษา
1.การรักษาด้วยยา
Acetazolamide
2.การรักษาด้วยการผ่าตัด
EVD, Ventriculostomy)
3.การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองสู่ช่องในร่างกาย ผ่าตัดใส่สายระบายจาก
โพรงสมองลงช่องท้อง
โพรงสมองลงช่องหัวใจ
โพรงสมองลงช่องปอด
โพรงสมองลงช่องใต้เยื่อหุ้มสมอง
การพยาบาลก่อนผ่าตัดสมอง
เตรียมทางด้านจิตใจ
เตรียมทางด้านร่างกายก่อนผ่าตัด
เตรียมสิ่งแวดล้อมเพื่อรับผู้ป่วยกลับจากห้องผ่าตัด
การพยาบาลหลังผ่าตัดสมอง
ดูแลระบบทางเดินหายใจ
ประเมินภาวะของการพร่องออกซิเจนของผู้ป่วย
ศีรษะสูง 15-30 องศา
ดูแล suction clear
air way
ติดตามผล ABG
2.ป้องกันภาวะความ
ดันในกะโหลกศีรษะสูง
วัดสัญญาณชีพและอาการทาง
ระบบประสาททุก 15 นาที 4 ครั้ง ทุก 30นาที 2 ครั้ง และทุก 1 ชั่วโมง
สังเกตอาการ เช่น ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน
3.บรรเทาอาการปวดแผลผ่าตัด
ประเมินความปวดโดยใช้ NVPS
ดูแลท่อระบายไม่ให้หักพับงอ
ดูแลจัดท่าให้อยู่ในท่าที่สุขสบาย
พูดคุยเบี่ยงเบนความสนใจ
ดูแลให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
4.การป้องกันการติดเชื้อใน
ระบบต่างๆ
ล้างมือทุกครั้งก่อนและหลังให้การพยาลบาล
วัดและบันทึกอุณหภูมิร่างกายทุก 4 ชั่วโมง
สังเกตบันทึก ลักษณะ ปริมาณ สี และกลิ่น
ดูแลให้แผลผ่าตัดและผ้าปิดแผลแห้งและสะอาด
อยู่เสมอ
ติดตามผลการส่งเพาะเชื้อ
ให้ยา Antibiotic ตามแผนการรักษา
โรคหลอดเลือดสมอง Stroke
อาการ
อาการอ่อนแรงหรือชาครึ่งซีก
ตามัวหรือมองไม่เห็น
ทันทีทันใด
การพูดและการสื่อสาร
ผิดปกติ พูดไม่ออก
เวียนศีรษะบ้านหมุน มีปัญหา
ด้านการทรงตัว
การรักษาวิกฤต
ควบคุมความดันโลหิต
ลดภาวะสมองบวม
รักษาด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือด
การรักษาโดยการใช้ยาสลายก้อนเลือด
ที่อุดตัน
การผ่าตัดเอาก้อนเลือดออก
การผ่าตัดเพื่อระบายน้ำไขสันหลังจาก
โพรงสมองเข้าสู่ช่องต่าง ๆของร่างกาย
สาเหตุ
เกิดจากหลอดเลือดสมองขาดเลือดหรือหลอดเลือดสมองอุด
ตัน
1 จากหลอดเลือดสมองตีบ
2 จากหลอดเลือดสมองอุดตัน
เกิดจากหลอดเลือดสมองแตก
จากเลือดออกในสมอง
เกิดจากเลือดออกใต้เยื่อ
ระยะพ้นวิกฤต
รักษาด้วย anticoagulant ได้แก่wafarin
การรักษาด้วย plated anti aggregation inhibitor ได้แก่ Aspirin
3.การให้ calcium chanel blocker นิยมใช้ Nimodipine
การควบคุมปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ โรคหัวใจ
การรักษาในระยะฟื้นฟูสภาพ
การทำกายภาพบำบัด
การทำกิจกรรมบำบัด
การฝึกพูด
ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูงIICP
สาเหตุ
1.มีการเพิ่มขนาดของสมองจาก
มีสิ่งกินทีในสมอง
สมองบวม
การเพิ่มของเลือดที่ไปเลี้ยงสมองมากขึ้น
เลือดดำไหลกลับไม่สะดวก
เส้นเลือดแดงในสมองขยาย
ได้รับยาขยายหลอดเลือดสมอง
การเพิ่มของน้ำไขสันหลัง
มีการผลิตมากขึ้นจากมีเนื้องอกของ
choroid plexus
มีการอุดตันของทางเดินน้ำไขสันหลัง
อาการ
1อาการและอาการแสดงที่เกิดจาก IICP .มีการเปลี่ยนแปลง LOC
สับสน ง่วงซึม
กระสับ กระส่าย
มีการเปลี่ยนแปลงสัญญาณชีพ
Pupillary signs
papilledema
ปวดศีรษะ
อาเจียนและสะอึก
อาการและอาการแสดงที่เกิดจากการสูญเสีย
หน้าที่ของสมองเฉพาะที่
อาการและอาการแสดงที่เกิดจากการเลื่อนของ
สมอง
การรักษา
รักษาด้วยยา
1 กลุ่ม osmotic diuretics
เช่น mannitol
20% และ 25%
2 Glucocorticoids
3.Anticonvulsant
4.Nonosmotic diuretic เช่น กลุ่ม
loop diuretics Lasix
การผ่าตัด
Decompressive
Craniectomy
ลดความดันภายนอก
Ventricular drainage
ลดความดันภายใน
การพยาบาล
การประเมินผู้ป่วยทางระบบประสาท
การดูแลทางเดินหายใจเพื่อให้ทางเดินหายใจโล่ง
การจำกัดสารน้ำ
การลดปัจจัยที่ทำให้ความดันภายในโพรงกะโหลกศีรษะเพิ่มสูง
Myasthenia Gravis
(MG)
สาเหต
ร่างกายผู้ป่วยสร้างภูมิคุ้มกันต่อโปรตีนชนิดหนึ่งในร่างกาย
เกิดจากสารอะซิติลโคลีนไม่สามารถทำงานได้
ปัจจัยทางพันธุกรรม
ปัจจัยหลายอย่างที่ทำให้อาการรุนแรงมากขึ้น ได้แก่ การติดเชื้อ ไข้
ความผิดปกติของต่อมไธมัส
อาการ
อาการแขนขาอ่อนแรง
กล้ามเนื้อตามักเริ่มมีอาการอ่อนแรงก่อน
ผู้ป่วยจะเหนื่อยเมื่อออกแรงเคี้ยวอาหาร
พูดเบา เสียงขึ้นจมูก
กล้ามเนื้อซี่โครงและกะบังลมอ่อนแรง ท าให้หายใจลำบาก
ความรุนแรง
Grade 1 มีอาการเฉพาะที่ตา เห็นภาพซ้อน หนังตาตก
Grade 2 A อ่อนแรงกล้ามเนื้อทั่วร่างกายไม่มีอาการ
อ่อนแรงของกล้ามเนื้อเกี่ยวกับการกลืนและการหายใจ
Grade 2B อ่อนแรงกล้ามเนื้อทั่วไป รวมกล้ามเนื้อเกี่ยวกับการกลืน
Grade 3 มีอาการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อหายใจเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและมีภาวะหายใจล้มเหลว
Grade 4 รุนแรงเหมือนเกรด 2 b แต่เป็นมานานกว่า 2 ป
การรักษา
รักษาใช้ยา
ยาต้านฤทธิ์ของเอนไซม์โคลีนเอสเทอเรส
เช่น ยา pyridostigmine (Mestinon)
ยาในกลุ่มคอร์ติโคสเตียรอยด์ จะช่วยยับยั้ง
ระบบภูมิคุ้มกัน และจ ากัดการสร้างแอนตี้บอด
ยากดภูมิคุ้มกัน Immunosuppressants เช่น azathioprine
(Imuran)
รักษาไม่ใช้ยา
การฟอกเลือด
การให้สารอิมมูโนโกลบูลินเข้าหลอดเลือด
การผ่าตัด
Guillain - Barré syndrome (GBS)
สาเหตุ
ไม่แน่นอน แต่เชื่อว่าเกิดจาก ออโตอิมมูน
แต่ในผู้ป่วย GB antibody-antigen ไม่กระตุ้น T-cell ทำ
ให้เกิดออโตอิมมูน มาทำลายตัวเอง
ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง คือ การอักเสบ การติดเชื้อ
GBS อาจเป็น ผลข้างเคียงของ วัคซีนไข้หวัดใหญ
อาการ
-ชา เหน็บ เริ่มจากส่วนปลายแขนขา
-อ่อนแรงจากปลายขาก่อน แล้วลุกลามไปต้นแขนส่วนปลายไปส่วนต้น ไปลำตัว คอกระบังลม กล้ามเนื้อ ซี่โครง
-ไม่มีเหงื่อบนใบหน้าซีกหนึ่ง
การรักษา
ให้ Immunoglobulins ขนาดสูง
ทางเส้นเลือดเป็นเวลา 5วัน
ทำ Plasma Exchange
ควรรักษาโรคหรือการติดเชื้อที่เป็น
สาเหตุนำโดยเร็วที่สุด
Multiple sclerosis
ไม่ใช่โรคติดต่อ
พบในคนหนุ่มสาว
เริ่มมีอาการเมื่ออายุ 31-33 ปี
พบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย
พบได้น้อยมากในเด็ก หรือคนชรา
สาเหตุ
อาจเป็นโรคของภูมิต้านทานตนเอง
ในผู้ป่วยโรค
MS พบว่าเม็ดเลือดขาวชนิดต่าง ๆ
macrophage ไปทาลายปลอกหุ้มประสาทรวมทั้งเส้นประสาท
อาการ
เส้นประสาทตาอักเสบ เช่นกลอกตาแล้วเจ็บภายในเบ้าตา
ไขสันหลังอักเสบ เช่นาการชาบริเวณ
แขน ขา ลำตัว
ปลอกประสาทในสมองอักเสบ เช่นอาการเห็นภาพซ้อน
การรักษา
รักษาการกลับมาเป็นโรคซ้ำชนิดที่เกิดแบบเฉียบพลัน
ใช้คอร์ติโคส
เตียรอยด
รักษาตามอาการของโรค
รักษาอาการรุดหน้าของโรค
beta-interferon และ glatiramer
acetate
การรักษาอาการต่างๆของโรค
อาการเกร็งของแขนขา
ฉีดยาลดเกร็งหรือกิน
ยาคลายกล้ามเนื้อ
อาการปวด
ใช้ยาแพทย์จะพิจารณาตามอาการ
อาการเดินเซ เวียนศีรษะ
ักษาโดยยากิน การท ากายภาพบำบัด
อาการซึมเศร้า
(Antidepressants)