Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 3 ตัวแปร กรอบความคิดและสมมติฐาน, 118 นายนนทวี จุลขันธ์ ค.ม.…
หน่วยที่ 3 ตัวแปร กรอบความคิดและสมมติฐาน
ตัวแปร
ประเภทของตัวแปร
พิจารณาความต่อเนื่องของค่าตัวแปร
ตัวแปรไม่ต่อเนื่อง
ตัวแปรต่อเนื่อง
พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรในเชิงเหตุผล
ตัวแปรสอดแทรก
ไม่ได้มุ่งศึกษาแต่อาจเกิดขึ้นมา
ตัวแปรเกิน
มีผลต่อตัวแปรตาม
ตัวแปรตาม
คุณลักษณะที่จะได้รับ
ตัวแปรกดดัน
ไม่ได้ศึกษาแต่มีอิทธิพลต่อตัวแปรอิสระ
ตัวแปรอิสระ
กำหนดได้ เช่น วิธีสอน
พิจารณาจากการวัด
เชิงปริมาณ
ความสูง
น้ำหนัก
เชิงคุณลักษณะ
เพศ
ระดับการศึกษา
ตัวแปร(Variable) หมายถึง คุณลักษณะ หรือเงื่อนไขที่แปรเปลี่ยนค่าไปตามบุคคลหรือเวลา ที่ผู้วิจัยจัดกระทำ(Manipulate)ควบคุม(Control ) หรือสังเกต (Observe ) ซึ่งแปรเปลี่ยนค่าได้ตั้งแต่ 2 ค่าขึ้นไป เช่น เพศ มี 2ลักษณะ คือ ชาย และหญิง ฐานะเศรษฐกิจของครอบครัว อาจแบ่งเป็น 3 ลักษณะ ฐานะร่ำรวย ฐานะปานกลางและฐานะยากจน เป็นต้น
กรอบความคิด
ที่มาของกรอบความคิดการวิจัย
ทฤษฎีต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
แนวความคิดของผู้วิจัย
ประโยชน์ของกรอบความคิดการวิจัย
ทำให้ผู้วิจัยทราบว่าตัวแปรที่จะวัดมีกี่ตัวและจะเก็บข้อมูล จากแหล่งใดบ้าง
ทำให้ผู้วิจัยทราบถึงวิธีการหรือเครื่องมือที่จะใช้เก็บรวบรวมข้อมูล
ทำให้การออกแบบการวิจัยถูกต้อง
ทำให้เห็นแนวทางการวิเคราะห์ข้อมูล
ทำให้สามารถตีความหมายผลการวิเคราะห์ข้อมูลได้ถูกต้อง สอดคล้องกับกรอบความคิดการวิจัย
ประเภทของกรอบความคิด
เชิงทฤษฎี
การวิจัย
การเสนอกรอบความคิดวิจัย
แบบบรรยาย เป็นการแสดงกรอบความคิดในลักษณะของการพรรณนาความ
แบบจำลอง หรือแบบฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์
แบบแผนภาพ เป็นการเชื่อมโยงให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่ต้องการศึกษา
แบบผสม เป็นการแสดงกรอบความคิดในลักษณะผสมกันระหว่างกรอบความคิดแบบบรรยาย แบบจำลองหรือแบบฟังก์ชันทางคณิตศาตร์ และแบบแผนภาพ
สมมติฐาน
สมมติฐาน คือ คำตอบที่ผู้วิจัยคาดคะเนไว้ล่วงหน้าอย่างมีเหตุผล โดยแสดงถึงความสัมพันธ์ที่คาดว่าจะเป็นไปได้ระหว่างตัวแปร 2 ตัวหรือมากกว่า เพื่อที่จะอธิบาย พยากรณ์เหตุการณ์ หรือปรากฏการณ์นั้น ๆ
สมมติฐานทางสถิติ เป็นสมมติฐานที่ตั้งขึ้นเพื่อใช้ทดสอบว่าสมมติฐานการวิจัยที่ผู้วิจัยตั้งไว้เป็นจริงหรือไม่ เป็นการคาดคะเนความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
สมมติฐานอื่น
สมมติฐานที่เป็นกลางหรือสมมติฐานไร้นัยสำคัญ
สมมติฐานการวิจัย เป็นคำตอบที่ผู้วิจัยคาดคะเนไว้ล่วงหน้า เป็นข้อความที่แสดงความเกี่ยวข้องระหว่างตัวแปรสมมตติฐานการวิจัยสามารถจำแนกออกได้
สมมติฐานการวิจัยแบบมีทิศทาง
สมมติฐานการวิจัยแบบไม่มีทิศทาง
แหล่งที่มาของสมมติฐาน
จากประสบการณ์ของผู้วิจัย ในเรื่องที่ทำวิจัยมากพอ
จากปรัชญาและความเชื่อ ในการวิจัยบางตั้งสมมติฐานจากปรัชญาและความเชื่อ เช่น ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว
จากความรู้ความสามารถของผู้วิจัยที่มีความรู้ในเรื่องนั้นๆ ดีอยู่แล้ว
จากการใช้หลักเหตุผล ผู้วิจัยอาจจะใช้หลักเหตุผลและความเป็นไปได้มาวิเคราะห์เพื่อตั้งสมมติฐาน
จากทฤษฎีและหลักการต่างๆ
จากผลการวิจัยของคนอื่นๆ
ประโยชน์ของสมมติฐาน
ช่วยบอกถึงข้อมูลที่จะนำมาใช้ในการวิจัย
แนะแนวทางในการวิเคราะห์ข้อมูล
ช่วยกำหนดขอบเขตของการวิจัย
ช่วยให้ผู้วิจัยได้แนวทางในการเขียนผลการวิจัย
ช่วยให้ผู้วิจัยมีแนวความคิดเกี่ยวกับเรื่องที่วิจัยชัดเจนขึ้น
การทดสอบสมมติฐานจะนำไปสู่การสร้างทฤษฎี
118 นายนนทวี จุลขันธ์
ค.ม. การบริหารและพัฒนาการศึกษา