Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เครื่องมือในการบำบัดทางการพยาบาลจิตเวช, นางสาวจันทิมา สุวรรณรัตน์ รุ่นที่…
เครื่องมือในการบำบัดทางการพยาบาลจิตเวช
1.สนทนาเพื่อการบำบัด
สัมพันธภาพเพื่อการบำบัด หมายถึง
ปฎิสัมพันธ์ระหว่างผู้ให้บริการ/พยาบาล และผู้รับบริการ/ผู้ป่วย โดยทั้งให้บริการและผู้รับบริการมีส่วรร่วมในการสร้างบรรยากาศเพื่อส่งเสริมให้เกิดการเยียวยา รวมทั้งเพื่อป้องกันความเจ็บป่วย
ระยะของสัมพันธภาพระหว่างพยาบาลและผู้ป่วยเพื่อการบำบัด
2.ระยะเริ่มต้นการสร้างสัมพันธภาพ
-เตรียมสถานที่และสร้างบรรยากาศให้เกิดความไว้วางใจ
-เมื่อเจอกัน ควรกล่าวทักทายด้วยความเป็นมิตร
-สร้างความไว้วางใจ
-กำหนดข้อตกลงของสัมพันธภาพ
3.ระยะดำเนินการแก้ปัญหา working or maintaining relationship phase
-รักษาสัมพันธภาพเพื่อการเยียวยาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความเชื่อถือ
-ค้นหาสาเหตุของปัญหาหรือสิ่งที่มากระทบการดำเนินชีวิต
-ส่งเสริมผู้ป่วยตระหนักในตนเอง
-ประเมินความเจ็บป่วยมีผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตอย่างไรบ้าง
-ให้การสนับสนุนทางด้านจิตใจ
1.ระยะเตรียมหรือก่อนสร้างสัมพันธภาพ (Pre-orientation phase)
-สำรวจตนเองเพื่อให้เกิดการตระหนักรู้
-การตระหนักรู้ถึงเป้าหมายในการช่วยเหลือ
-รวบรวมข้อมูลที่จำเป็นเกี่ยวกับผู็ป่วย
-กำหนดเป้าหมายทั่วไปในการสร้างสมพันธภาพ
4.ระยะสิ้นสุดสัมพันธภาพ termination phase
-วางแผนเพื่อให้ผู็ป่วยได้รับบการดูแลต่อเนื่องเมื่อต้องสิ้นสุดสัมพันธภาพ
-การเตรียมความพร้อมต่อความรู้สึกในการสิ้นสุดสัมพันธภาพ
-ประเมินความก้าวหน้าและความสำเร็จตามเป้าหมาย
-ประเมินความรู้สึกหรือพฤติกรรมที่เป็นปัญหาจาการสิ้นสุดสัมพันธภาพความวิตกกังจากการพลัดพราก
สัมพันธภาพ หมายถึง
กระบวนการที่บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ทำความรู้จักกัน ติดต่อสัมพันธ์สร้างความคุ้นเคยสนิทสนมกัน บุคคลที่สัมพันธ์กันจะได้รับผลกระทบจากกันและกัน
2.กลุ่มกิจกรรมบำบัด
ความหมาย
เป็นการบำบัดทางจิตชนิดหนึ่งในผู้ที่มีปัญหาทางจิตใจ อารมณ์ และพฤติกรรม ด้วยการใช้กระบวนการของกลุ่มที่มีการวางแผน
ชนิดของจิตบำบัดกลุ่ม
สมรสบำบัด
เป็นการทำจิตบำบัดระหว่างคู่สมรสที่มีปัญหาขัดแย้งกันทั้งด้านจิตใจ และพฤติกรรม
ละครจิตบำบัด
การทำจิตบำบัดแบบกลุ่มในบุคคลที่มีปัญหาด้านบุคลิกภาพ
ครอบครัวบำบัด
เป็นการทำจิตบำบัดที่ผู้รับบริการ คือ ผู้ป่วยและสมาชิกใรครอบครัวมาพูดคุยกัน
กระบวน
ระยะกลาง middle phase
นำปัญหาเข้าสู่ความสนใจของกลุ่ม
เป็นปัญหาในปัจจุบันหรือปัญหาที่เกิดเมื่อเร็วๆ นี้
กลุ่มไต่ถามหารายละเอียดของปัญหา
กลุ่มวิจารณ์ให้ข้อเสนอแนะ
นำเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในกลุ่มมาพิจารณาและแก้ไข
เวลาที่ใช้ 4/6 ของเวลาทั้งหมด
ระยะยุติหรือสิ้นสุด termination phase
สรุปการเรียนรู้กันในกลุ่ม
การวางแผนสำหรับการทำกลุ่มในคราวต่อไป (ถ้ามี)
สรุปปัญหาและข้อเสนอแนะ
เวลาที่ใช้ 1/6 ของเวลาทั้งหมด
ระยะเริ่มต้น beginning phase
ทำความรู้จักซึ่งกันและกัน
ทำความเข้าใจวัตถุประสงค์ กฎเกณฑ์ กติการการเข้ากลุ่ม
เวลาที่ใช้ 1/6 ของเวลาทั้งหมด
บทบาทของผู้บำบัด
ควบคุมให้กลุ่มดำเนินไปตามวัตถุประสงค์
คอยกระตุ้นถ้ากลุ่มช้า
ผู้เริ่มต้น ลงท้าย และสรุป
สร้างบรรยากาศอย่าให้เครียดหรือเงียบเหงาเกินไป
ให้ทุกคนมีส่วนร่วมในกลุ่ม
สังเกต รับรู้ และเข้าใจทุกสิ่งที่เกิดขึ้นในกลุ่ม
4.การรักษาด้วยไฟฟ้า ECT
ความหมาย
รักษาผู้ที่มีความผิดปกติทางจิตโดยใช้กระแสไฟฟ้าจากเครื่องทำการรักษาด้วยไฟฟ้าในปริมาณที่เหมาะสม ผ่านเข้าไปในสมองในระยะเวลาช่วงสั้นๆ
ข้อบ่งชี้
การรักษาด้วยไฟฟ้าต่อการรักษาด้วยยา
-ผู้ป่วยทนต่อผลข้างเคียงของยาไม่ได้
-สภาวะที่อาการของผู้ป่วยแย่ลงเรื่อยๆ
การใช้การรักษาด้วยไฟฟ้าเป็นวิธีแรกก่อนใช้ยา
-เมื่อการรักษาด้วยวิธีอื่นปลอดภัยน้อยกว่า
-มีแระวัติต่ิการรักษาด้วยยาไม่ดี
-ต้องการผลการรักษาที่รวดเร็ว
อาการข้างเคียง
หลังทำการรักษาช่วงสั้น
ปวดศรีษะ คลื่นไส้ อาเจียน เวียนศรีษะ มักจะเกิดกับผู้่วยหลังจาหหยุดชัก
หลังการรักษาระยะยาว
ผลกระทบต่อระบบการหายใจ การอุดตันทางเดินหายใจ การขาดออกซิเจน ผลกระทบต่อระบบกล้ามเนื้อ
ขณะทำการรักษา
ผลกระทบต่อหัวใจ แลหลอดเลือด
3.การรักษาด้วยยา
ยาต้านเศร้า antiderpressant drugs
รักษาโรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้วในระยะซึมเศร้า โรควิตกกังวล และภาวะซึมเศร้า นอกจากนี้ยังรักษา อาการปวดเรื้อรัง ปวดศรีษะไมเกรน
1.ยากลุ่ม tricyclic antidepressants (TCA)
ปิดกั้นการคืนกลับของสารสื่อประสาท ส่งผลให้อาการซึมเศร้าลดลง
ผลข้างเคียง
ผลต่อระบบประสาทส่วนปลาย ได้แก่ ปากแห้ง เหงื่อออกน้อย สายตามัว ท้องผูก ปัสสาวะคั่ง เป็นต้น
ผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง เช่น ง่วงซึม สับสน หลงผิด
3.ยากลุ่ม inhibition of enzymes
ปิดกั้นเอนไซด์ในการสังเคราะห์นอร์อิพิเนฟฟิน ซิโรโตนิน และโดปามีน ส่งผลให้เกิดการเพิ่มสารสื่อประสาทในระบบประสาทส่วนปลายและส่วนกลาง ซึ่งช่วยในการรักษาอาการซึมเศร้า
ผลข้างเคียง ความดันโลหิตต่ำ และป้องกันอันตรายการหกล้มและการบาดเจ็บ และอาการอื่นๆ เช่น ปากแห้ง ท้องผูก เป็นต้น
2.ยากลุ่ม selective serotonin reuptake inhibitors
เพิ่มการตอบสนองของสารสื่อประสาทซีโรโตนินบริเวณแลกเปลี่ยนสัญญาณประสาทมากขึ้น
ผลข้างเคียง ที่พบจะไม่รุนแรง แต่อาจมีอาการมากในช่วงแรกของการรักษาและค่อยๆลดลง เช่น ท้องไส้ปั่นป่วน ท้องเสีย น้ำหนักตัวลด นอนไม่หลับ
ยาปรับสมดุลอารมณ์ antimanic drugs
รักษาโรคอารมณ์สองขั้ว โดยเฉพาะช่วงอาการแมเนีย ยาที่ใช้รักษา ได้แก่ ลิเทียม และยากันชัก ซึ่งยาจะช่วยควบคุมอาการแมเนียในระยะเฉียบพลัน ป้องกันอาการกลับซ้ำ และช่วยให้สามารถดำรงชีวิตได้ตามปกติ
ยาต้านโรคจิต antipsychotic drug
.ใช้รักษาอาการทางจิตที่พบในโรคจิตเภท โรคจิตที่มีอารมณ์แปรปรวน โรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว
1.ยากลุ่มเก่า
เป็นยาออกฤทธิ์ในการปิดกั้นการทำงานของตัวรับสัญญาณของโดปามีน ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงในการรับรู้ การรู้คิด การทำกิจกรรม การรู้สติ การมีสัมพันธภาพ และอารมณ์
ผลข้างเคียง
ส่งผลให้มีการเคลื่อนไหวผิดปกติ
ส่งผลต่อการทำหน้าที่เกี่ยวกับการยับยั้งการหลั่งของฮอร์โมนโปรแลคทินของต่อมฮิสทูอิตารี ทำให้โปรแลคทินเพิ่มมากขึ้น
เป็นตรายถึงชีวิต
2.ยากลุ่มใหม่
ออกฤทธิ์ปิดกั้นการทำงานของตัวรับซีโรโตนีน โดปามีนและฮีสตามีน ซึ่งช่วยในการลดอาการทางจิต ช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดความผิดปกติของการเคลื่อนไหว
ยาคลายความวิตกกังวล antianxiety drugs
ช่วยลดความวิตกกังวล และช่วยให้นอนหลับได้
ผลข้างเคียง ง่วงซึม อ่อนแรง หลงลืม ซึมเศร้า วิงเวียน ความดันโลหิตต่ำ เป็นต้น
5.การจำกัดพฤติกรรม
กระบวนการบำบัด
บทบาทของผู้รับบริการ
เป็นผู้เลือกและฝึกปฏิบัติพฤติกรรมใหม่นั้น
บทบาทของผู้บำบัด
ผู้บำบัดเป็นผู้ออกแบบและกำหนดเทคนิคที่ใช้ในการสร้างการเรียนรู้ใหม่
เทคนิคการปรับพฤติกรรมที่สำคัญ
การหยุดยั้ง
การหยุดให้แรงเสริมต่อพฤคิกรรมที่เคยได้รับแรงเสริมอยู่แล้ว ผลจากการใช้เทคนิคการหยุดยั้งจะทำให้พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
การชี้แนะ
การใช้สิ่งเร้าบางสิ่งบางอย่างกระตุ้นให้บุคคลเกิดการตอบสนอง เช่น การให้สัญญาณ การแสดงท่าทาง เป็นต้น
การแต่งพฤติกรรม
การเสริงสร้างพฤติกรรมใหม่โโยใช้วิธีการให้แรงเสริมพฤติกรรมที่คาดคะเนว่าจะนำไปสู่พฤติกรรมที่ต้องการ
หลักการและแนวคิด
ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก
มุ่งเน้นที่กระบวนการเกิดพฤติกรรมที่อยู่ภายใต้การวางเงื่อนไขปำิกริยาสะท้อน
ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบการกระทำ
ผลกรรมที่เป็นตัวเสริมแรง
ที่ทำให้พฤติกรรมที่บุคคลกระทำอยู่นั้นมีอัตราการกระทำเพิ่มมากขึ้น
ผลกรรมที่เป็นตัวลงโทษ
ที่ทำให้พฤติกรรมที่บุคคลกระทำอยู่นั้นยุติลง
นางสาวจันทิมา สุวรรณรัตน์ รุ่นที่ 36 /1 เลขที่ 19