Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดไม่เขียว, นางสาวกัสมา กำพวน รหัส 621001014,…
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดไม่เขียว
ความผิดปกติของผนังกั้นหัวใจห้องบน (Atrial Septal Defect)
ความหมาย
มีความผิดปกติในการสร้างผนังกั้นเอเตรียมที่ไม่สมบูรณ์ทำให้เกิดรูรั่วเป็นทางติดต่อระหว่างเอเตรียมซ้ายและขวา
อาการและอาการแสดง
ขนาดเล็ก
เติบโตปกติหรือช้า ติดเชื้อระบบทางเดิน
หายใจบ่อย
ขนาดใหญ่
อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย เหงื่อออกมาก
ขนาดปานกลาง
เติบโตปกติหรือช้า ติดเชื้อระบบ
ทางเดินหายใจบ่อย
การรักษา
ASD ปิดได้เองในช่วงอายุ 3 ปี ถ้ารูรั่วมีขนาดเล็กกว่า 5 มม.
การดูแลสุขภาพสุขภาพปาก และฟัน
การรักษาทางยา
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบรักษาโดยใช้ ยาปฏิชีวนะ
รักษาภาวะหัวใจวาย
Lasix
Lanoxin
การผ่าตัด
โดยการเย็บปิดผนังกั้นของ ASD
พยาธิ
เลือดแดงในหัวใจห้องบนซ้ายมีความดันสูงกว่าด้านขวา จะไหลผ่านตรงทางรูรั่วที่ผิดปกติเข้าไปหัวใจห้องบนขวาลงสู่ห้องล่างขวา เป็นผลให้เกิด left to right shunt ทำให้หัวใจห้องบนขวาและห้องล่างขวาโตและขยายตัวขึ้น เนื่องจากต้องทำหน้าที่เพิ่ม
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ
ประวัติการติดเชื้อทางเดินหายใจบ่อย เหนื่อยง่าย
การตรวจร่างกาย
Ventricle ขวาโต เสียงที่หนึ่ง (S1) ต่ำ
กว่าปกติที่บริเวณลิ้นไตรคัสปิด
ภาพรังสีทรวงอก
ASD ขนาดปานกลางจะพบหัวใจโต
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ASD ขนาดปานกลางขึ้นไปจะพบเอเตรียมขวามีการ
ขยายตัว และเวนตริเคิลขวามีการหนาตัว
Echocardiography
ขนาดของ atrium ขวาและ ventricle ขวา และหลอดเลือดแดง pulmonary มีขนาดใหญ่ขึ้น เห็นรูรั่วบริเวณผนังกั้นหัวใจห้องบนชัดเจน
การตรวจสวนหัวใจและการฉีดสารทึบรังสี
Angiography ความเข้มข้นออกซิเจนในเลือดในเอเตรียม ขวาจะเพิ่มขึ้น
ความผิดปกติของผนังกั้นหัวใจห้องล่าง (Ventricular Septal Defect)
ความหมาย
มีความผิดปกติในการสร้างผนังกั้น ventricle ที่ไม่มีความผิดปกติในการสร้างผนังกั้น ventricle ที่ไม่
อาการและอาการแสดง
small VSD
ส่วนใหญ่ไม่มีอาการ
large VSD
มีอาการเหนื่อยง่าย เลี้ยงไม่โต ติดเชื้อทางเดิน
หายใจบ่อย มักจะมีอาการเหนื่อยง่ายเวลาดูดนม
moderate VSD
ตัวเล็กหรือเลี้ยงไม่โต พัฒนาการทาง
กายช้า
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ
หายใจเร็วผิดปกติ เด็กตัวเล็ก โตช้า
การตรวจร่างกาย
พบเสียง murmur
คลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ
มองเห็นขนาดรูรั่วและห้องหัวใจที่โตขึ้น
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
พบ left atrium และventricle โต
ภาพรังสีทรวงอก
ภาพรังสีทรวงอก
VSD ขนาดปานกลาง
มักมีหัวใจโต หลอดเลือดที่ปอดเพิ่มขึ้น
VSD ขนาดใหญ่
มักพบว่าหัวใจโตมาก หลอดเลือดที่ปอดเพิ่มขึ้นมาก พบ ventricle ขวาโต และมี atrium ซ้ายโตด้วย
VSD ขนาดเล็ก
ขนาดหัวใจมักปกติหรือโตเล็กน้อย
การรักษา
การดูแลสุขภาพทั่วไป
VSD ขนาดเล็ก
ให้การดูแลสุขภาพอนามัยที่ดี ระมัดระวังและป้องกันการติดเชื้อที่เยื่อหุ้มหัวใจ
VSD ขนาดใหญ่
กรณีไม่สามารถควบคุมภาวะหัวใจวายได้ การผ่าตัดเย็บปิดรูพิการ หรือการผ่าตัดเปิดหัวใจเพื่อแก้ไขความผิดปกติของหัวใจ
กรณีมีภาวะหัวใจวาย ให้ยา digitalis ยาขับปัสสาวะ ยาขยายหลอดเลือด
พยาธิ
ความผิดปกติของระบบการไหลเวียนโลหิต ซึ่งเป็นผลมาจาก VSD จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับขนาดของรูรั่วระหว่าง ventricle โดยที่เลือดจะไหลลัดจาก ventricle ซ้ายไปขวา ไหลไปสู่ปอดเพื่อแลกเปลี่ยนออกซิเจน แล้วไหลสู่หัวใจห้องบนซ้ายลงสู่หัวใจห้องล่างซ้าย ซึ่งต้องทำงานเพิ่มมากขึ้นบีบตัวให้เลือดส่วนหนึ่งออกไปสู่ระบบไหลเวียนโลหิตทั่วร่างกาย โดยที่เลือดอีกส่วนหน่ึงผ่านรูรั่วกลับเข้าสู่ใจห้องล่างขวาใหม่กล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างจึงโตกว่า ปกติ
หลอดเลือดดัคตัส อาร์เตริโอซัส ไม่ปิดหลงัคลอด (Patent Ductus Arteriosus)
ความหมาย
เกิดจากการที่หลอดเลือด ductus arteriosus (หลอดเลือดที่เชื่อมระหว่างส่วนต้นของ descending aorta กับส่วนต้นของหลอดเลือดแดง pulmonary ข้างซ้าย) ไม่ปิดภายหลังทารกคลอด ซึ่งปกติควรปิดภาย
ใน 1 – 4 สัปดาห์
อาการและอาการแสดง
PDA ขนาดเล็ก
ผู้ป่วยมักไม่มีอาการ
PDA ขนาดปานกลาง
ผู้ป่วยอาจจะมีอาการเหนื่อยง่าย
เล็กน้อย
PDA ขนาดใหญ่
ผู้ป่วยจะมีอาการมากตั้งแต่วัยทารก
หัวใจวายเหนื่อยหอบ
การประเมินสภาพ
ถ่ายภาพรังสีทรวงอก
พบ ventricle ซ้ายโต หลอดเลือด
pulmonary artery มีขนาดใหญ่ขึ้น หลอดเลือดที่ปอดเพิ่มขึ้น
การตรวจร่างกาย
ได้ยิน murmur ที่ลิ้น pulmonic
ชีพจรเต้นแรง (bounding pulse) pulse pressure กว้างกว่า ½ ของความดัน systolic
คลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ
พบว่า มีหัวใจด้านซ้ายโต วัดขนาดของ ductus
arteriosus ได้
การซักประวัติ
จากอาการตัวเล็ก น้ำหนักน้อย หายใจเร็ว
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
พบว่าหัวใจล่างซ้ายโต
การรักษา
การรักษาทางยา
ทารกที่คลอดก่อนกำหนดและมีอาการหัวใจวายให้ยา Indomethacin 0.2 mg/Kg . ทางปากหรือหลอดเลือดดำซ้ำ 3 ครั้ง ห่างกัน 8 –12 ชม.
กรณีไม่มีอาการ
ควรทำการผ่าตัดโดยผูก ductus arteriosus เมื่อผู้ป่วยอายุเกิน 1 ปีไปแล้ว
กรณีใช้ยาไม่ได้ผล
ผ่าตัดผูกหลอดเลือด ductus arteriosus ด้วยไหมขนาดใหญ่
พยาธิ
ความดันของเลือดในหลอดเลือด aorta สูงกว่า ในหลอดเลือดแดง pulmonary เป็นเหตุให้เลือดไหลจาก aorta กลับมายังหัวใจห้องบนซ้ายลงสู่ห้องล่างซ้ายออกทาง aorta ใหม่วนเวียนไปเรื่อยๆ เลือดที่มีออกซิเจนไหลเวยีนผ่านปอดใหม่ทำให้หัวใจด้านซ้ายทำงานมากกว่าปกติและเกิดหัวใจโต
หลอดเลือดเอออร์ตาตีบ (Coarctation of Aorta)
ความหมาย
การตีบแคบหรืออุดตันของส่วนใดส่วนหนึ่งของหลอดเลือด aorta
ซึ่งส่วนใหญ่มักจะพบที่ aortic arch
อาการและอาการแสดง
เด็กโต
มักไม่มีอาการผิดปกติ ถ้ามีอาการมักจะ
เป็นผลจากภาวะแทรกซ้อน เช่น ความดันโลหิตสูง
ทารกแรกเกิด
ส่วนใหญ่มาด้วยอาการของหัวใจวาย
ได้แก่ หายใจเหนื่อยหอบ เลี้ยงไม่โต ตรวจร่างกายจะพบว่ามีหายใจเร็ว ชีพจรที่แขนจะแรงกว่าที่ขา
การประเมินสภาพ
การตรวจร่างกาย
รูปร่างหน้าตาปกติ บางคนมีร่างกายส่วนบนใหญ่ แต่ท่อนล่างเล็ก
เรียกว่า pop-eye appearance
ชีพจรส่วนบนของร่างกายแรง แต่ชีพจรส่วนล่างของร่างกาย เช่น femoral เบา
ขาอาจจะเย็นกว่าแขน
ความดันโลหิตมักจะสูง
การซักประวัติ
อาการและอาการแสดง
การตรวจพิเศษอื่นๆ
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
หัวใจห้องล่างซ้ายโตในเด็กโต ส่วนเด็กเล็กจะพบ ventricle ขวาโต
คลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ
พบ hypoplasia ของ aortic isthmus
ภาพรังสีทรวงอก
หัวใจห้องล่างซ้ายโต aorta ส่วนหน้าของบริเวณตีบแคบจะขยายใหญ่ขึ้น
การรักษา
รักษาทางยา
ยา digitalis ในรายที่มีภาวะหัวใจวาย
ผู้ป่วยที่ไม่มีอาการหรือมีอาการไม่รุนแรง
แนะนำให้ทำผ่าตัดเมื่ออายุ 4–5
ปี โดยทำการตัดหลอดเลือดส่วนที่ตีบออก และต่อส่วนปลายทั้งสองข้างเข้าด้วยกัน (end to end anastomosis)
หรือการตัดหลอดเลือดส่วนที่ตีบออก
พยาธิ
aorta ส่วนที่เป็น coarctation แคบลงทำให้หัวใจห้อง ventricle
ซ้ายทำงานหนักมากและ
aortic blood flow ลดลง เลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจลดลงและทำ ให้การทำงานของ ventricle ซ้าย
เสียไปเป็นผลให้ความดันเลือดใน atrium ซ้ายสูงขึ้นมี left to right shunt ทำให้เกิดอาการหัวใจวาย
หลอดเลือดพัลมอนิคตีบ (Pulmonic stenosis)
ความหมาย
การตีบของลิ้น pulmonary มีผลให้การไหลของเลือดจากหัวใจห้องล่างขวาไปยัง pulmonary artery ได้ยากขึ้น
อาการและอาการแสดง
ตีบแคบน้อย
ผู้ป่วยจะไม่มีอาการ อาจพบ systolic murmur
ตีบแคบมาก
ผู้ป่วยจะมีอาการของภาวะหัวใจซีกขวาวายหรือ
มีอาการเขียวเล็กน้อยในเด็กเล็ก ส่วนในเด็กโตมักมีอาการเหนื่อยง่าย อาจมีอาการเขียว
ตีบแคบปานกลาง
ผู้ป่วยอาจไม่มีอาการหรือมีอาการเหนื่อย
ง่ายเพียงเล็กน้อยเวลาออกแรง พบ systolic murmur
การประเมินสภาพ
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ventricle ขวาโต atrium ขวาโต
ภาพรังสีทรวงอก
พบมีการโป่งพองของ pulmonary artery
หัวใจห้องบนและล่างขวาโต หลอดเลือดที่ปอดมักจะน้อยลง
คลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ
พบ atrium ขวาโต ventricle ขวาหนาขึ้น
ดูโป่งพอง และมีการตีบแคบของหลอดเลือด pulmonary
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
ฟังได้ systolic murmur
การรักษา
ในรายที่มีอาการมาก ทำผ่าตัด pulmonary valvotomy และ
balloon valvuloplasty เพื่อขยายลิ้น pulmonary
ให้คำแนะนำในการป้องกันการติดเชื้อที่ลิ้นหัวใจและผนังหัวใจ
รายที่เป็น mild pulmonary stenosis ไม่ต้องผ่าตัด
พยาธิ
เกิดการอุดก้้นของทางออกของ ventricle ขวา ทำให้ventricle ขวาต้องบีบตัวแรงขึ้น เพื่อให้มี
ปริมาณของเลือดไปปอดเพียงพอกล้้ามเนื้อของ ventricle
ขวาจึงหนาตัวขึ้น
นางสาวกัสมา กำพวน รหัส 621001014
อ้างอิง
ณัฏฐณิชา ศรีบุณยวัฒน. (2562). เด็กป่วยโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดหลักการดูแล.
พยาบาลสาร 46
, ฉบับพิเศษ (ธ.ค. 2562), 128-138.
ชัญญานุช เครือหลี. (2564). การพยาบาลเด็กจนถึงวัยรุ่นที่มีปัญหาระบบหัวใจ. สืบค้นเมื่อ 30 สิงหาคม2564 จาก
https://drive.google.com/file/d/1MMmsFZukGHPqwfjDSaBjRAJ4L5fXd2JN