Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Thyriod, ผลกะทบ - Coggle Diagram
Thyriod
Hyperthyroidism
อาการและอาการแสดง
ขี้ร้อน หงุดหงิด ตกใจง่าย อารมณ์แปรปรวน
กินเก่ง กินจุ น้ำหนักลด
ความดันโลหิตสูง
หายใจลำบาก
อัตราการเต้นของชีพจรเร็ว แม้นอนพัก
คอพอก ตาโปน
อัตราการเต้นของหัวใจเร็ว
คันตามผิวหนัง
อาการสั่น มือสั่น (tremor)
การวินิจฉัยโรคไทรอยด์เป็นพิษ
การตรวจเลือด
📙ตรวจวัดการทำงานของต่อมใต้สมอง (Thyroid-Stimulating Hormone: TSH) เป็นการตรวจวัดปริมาณฮอร์โมนต่อมใต้สมองซึ่งมีหน้าที่ควบคุมการทำงานของต่อมไทรอยด์
📙การตรวจวัดระดับปริมาณแอนติบอดีของต่อมไทรอยด์ (Thyroidglobulin) ซึ่งจะช่วยวินิจฉัยโรคเกรฟวส์ได้
📙 ตรวจวัดปริมาณฮอร์โมนไทรอยด์ ปริมาณของฮอร์โมนไทรอยด์ T3 และ T4 ในเลือดเป็นสิ่งระบุชัดเจนได้ถึงการทำงานของต่อมไทรอยด์ว่าผิดปกติหรือไม่ หากกว่าไม่ปกติก็แปลว่ามีอาการของโรคไทรอยด์เป็นพิษ
การเอกซเรย์
🌻 การตรวจอัลตราซาวด์ เป็นการตรวจที่จะช่วยวัดขนาดของต่อมไทรอยด์และความผิดปกติของต่อมไทรอยด์ ซึ่งวิธีนี้จะช่วยให้แพทย์มองเห็นความผิดปกติได้
🌻การตรวจต่อมไทรอยด์ (Thyroid Scan) เป็นการตรวจโดยใช้รังสีเพื่อให้เห็นการทำงานของต่อมไทรอยด์ ซึ่งจะช่วยให้เห็นว่าต่อมไทรอยด์มีการทำงานที่มากกว่าปกติหรือไม่
🌻 การเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นการเอกซเรย์คอมพิวเตอร์แบบซีทีสแกน (CT Scan) หรือเอ็มอาร์ไอ (MRI) ใช้ในกรณีที่แพทย์สงสัยว่าความผิดปกติของต่อมไทรอยด์อาจมีเนื้องอกหรือมะเร็งปน และการเอกซเรย์คอมพิวเตอร์สมองจะใช้ในกรณีทีแพทย์สงสัยว่าโรคไทรอยด์เป็นพิษอาจเกิดจากต่อมใต้สมองหลั่งฮอร์โมนผิดปกติ
ผลกระทบ
ต่อมารดา
📪แท้งและคลอดก่อนกำหนด
📪มีโอกาสเกิดภาวะความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์ หรือหัวใจล้มเหลวได้
📪รกลอกตัวก่อนกำหนด
ต่อทารก
✂️การตายปริกำเนิด
✂️ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
✂️ทารกพิการแต่กำเนิด
✂️การคลอดก่อนกำหนด
✂️มีโอกาสเป็นต่อมไทรอยด์เป็นพิษแต่กำเนิด
✂️การแท้ง
การรักษาโรคไทรอยด์เป็นพิษ
การรักษาด้วยรังสีไอโอดีน
📖เป็นการรักษาด้วยการรับประทานสารรังสีไอโอดีน ซึ่งเป็นสารที่มีความปลอดภัย โดยสารชนิดนี้จะถูกดูดซึมโดยต่อมไทรอยด์ และทำลายเนื้อต่อม ทำให้ต่อมไทรอยด์ค่อย ๆ หดตัวลงและอาการจะค่อย ๆ ดีขึ้น
การผ่าตัดต่อมไทรอยด์
📖ในกรณีที่ผู้ป่วยอยู่ในภาวะตั้งครรภ์ หรือไม่สามารถใช้ยาในการรักษาหรือรักษาด้วยรังสีไอโอดีนได้ การผ่าตัดก็จะช่วยรักษาโรคไทรอยด์เป็นพิษได้ แต่เกิดในกรณีที่น้อยมาก โดยในการผ่าตัด แพทย์จะนำต่อมไทรอยด์ส่วนใหญ่ออกเพื่อรักษาอาการ แต่ความเสี่ยงในการผ่าตัดก็คืออาจทำลายเส้นเสียงและต่อมพาราไทรอยด์ได้
การรับประทานยาต้านไทรอยด์
📖ยาเมไทมาโซล (Methimazole: MMI) และยาโพพิลไทโออูราซิล (Propylthiouracil: PTU) เป็นยาต้านไทรอยด์ กลไกการทำงานของยาคือ ตัวยาจะเข้าไปขัดขวางการสร้างฮอร์โมนไทรอยด์ไม่ให้สร้างฮอร์โมนมากจนเกินไปภายใน 2-8 สัปดาห์
การปรับพฤติกรรมการรับประทานอาหาร
📖โรคไทรอยด์สามารถก่อเกิดภาวะขาดน้ำได้ การดื่มน้ำอย่างเพียงพอจะช่วยลดภาวะขนาดน้ำและทำให้อาการดีขึ้น
Hypothyroidism
อาการและอาการแสดง
📖ท้องผูก น้ำหนักเพิ่ม
📖ขี้หนาว หนังตาบวม
📖อ่อนเพลีย เชื่องช้า ซึม เหนื่อยง่าย
📖ผมหยาบร่วง ขี้หนาว
การวินิจฉัยโรค
🦠อาการและอาการแสดง
🦠ตรวจเลือด จะพบระดับ T4 ต่ำ และ TSH สูง
มารดา
ทารก
📍ทารกมีความบกพร่องในการพัฒนาสมอง
📍Cretinism Cretinism
🎈แท้ง
🎈คลอดก่อนกาหนด
🎈ทารกตายในครรภ์
🎈ความดันโลหิตสูง
🎈รกลอกตัวก่อนกาหนด
การพยาบาล
ระยะคลอด
🩸ดูแลให้ผู้คลอดได้รับความสุขสบาย
🩸วัดสัญญาณชีพ ทุก 1-2 ชม
🩸ตรวจภายในเพื่อประเมินการคลอด
🩸ฟัง เสียงหัวใจทารก ทุก 15-30 นาที
ระยะตั้งครรภ์
🩺แนะนำให้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าและมีประโยชน์
🩺แนะนำให้พักผ่อนให้เพียงพอ
🩺อธิบายให้หญิงตังครรภ์และครอบครัวเข้าใจอาการไม่สุขสบายและอารมณที่เปลี่ยนแปลงง่าย และรักษาด้วยยาPTU
🩺แนะนำการดิ้นของทารก และการมาตามนัด
ระยะหลังคลอด
📌ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
📌ทำความสะอาดแผลฝีเย็บ
📌ดูแลมารดาให้พักผ่อนให้เต็มที่
📌ดูแลให้ได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าและครบท้วน
Postpartum
อาการ
👉อ่อนเพลีย ไหล่ติด
👉เหงื่ออกมาก
👉กระวนกะวาย
ผลกะทบ