Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระเบียบปฏิบัติและกฎหมายระบบมาตรฐานสากล, นายธนาวุฒิ วรสิงห์ รหัส 704, image…
ระเบียบปฏิบัติและกฎหมายระบบมาตรฐานสากล
สาระสำคัญของกฎหมาย
กำหนดให้อาคารที่ลูกจ้างทำงานอยู่มีความปลอดภัยในเรื่องการแยกอาคารที่ระเบิดได้อย่างร้ายแรงออก ต่างหากกำหนดชนิดของอาคารและจำนวนชั้นที่ลูกจ้างามารถทำงานได้เส้นทางหนีไฟที่ปลอดภัย ทางออกและชั้นไม่น้อยกว่า 2 ทางมีป้ายชี้นำทางประตูหนีไฟที่มีขนาดกว้างไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร บันไดหนีไฟต้องทนไฟป้องกันควัน ประตูออกสุดท้ายต้องปลอดภัยเป็นต้น
การจัดอุปกรณ์ดับเพลิง ให้จัดน้ำสำรองดับเพลิงตามปริมาณที่กำหนดและจัดเครื่องดับเพลิงที่มีขนาด ชนิดติดตั้ง และระยะห่างตามกฎหมาย
กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการเก็บรักษา ปริมาณที่เก็บ การใช้ และการควบคลุมสารเชื้อเพลิงทกชนิดที่ เก็บในอาคารและนอกอาคาร
หนดให้มีภาชนะที่เก็บเป็นโลหะทนไฟ การทำความสะอาด การเก็บรวบรวม การกำจัดและการเผา 5. กำหนดให้มีสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้
กำหนดการป้องกันแหล่งกำเนิดความร้อนต่าง ๆ เช่น การป้องกันอันรายจากไฟฟ้า การเสยดสีเครื่องยนต์ ปล่องไฟ การนำ การพา การแผ่รังสีความร้อน ไฟฟ้าสถิต ฟ้าฝ่า เป็นต้น
กำหนดให้มีการฝึกอบรมพนักงาน ให้สามารถดับเพลิงได้ไม่น้อยกว่า 50% ของแต่พื้นที่ให้มีการซักซ้อม การดับเพลิงและหนีไฟไม่น้อยกว่าปีละ 1 ครั้ง
กำหนดให้จัดเครื่องป้องกันอันตรายส่วนบุคคล เชื่อ เสื้อผ้า รองเท้า ถุงมือ หมวก น่ากาก กันความร้อน ได้
เจตนารมของกฎหมาย
เพื่อเป็นการส่งเสริมให้มีการดำเนินงานความปลอดภัยในระบบทวิภาคีขึ้นในสถานประกอบการ
เพื่อให้บริการงานความปลอดภัย และการแก้ปัญหาอุบัติเหตุและโรคเนื่องจากทำงานเป็นที่ยอมรับ
เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติติของเจ้าที่ความปลอดภัยในการทำงานประจำสถานประกอบกิจการในการดูแล ความปลอดภัยของลูกจ้าง
เพื่อให้การประกอบกิจการและการปฏิบัติติงานของลูกจ้าง
หมวด ๑
หลักสูตรเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหน้างาน
(๑) หมวดวิชาที่ ๑ ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงานและบทบาทหน้าที่ของหัวหน้างาน มีระยะเวลาการ ฝึกอบรมสามชั่วโมง ประกอบด้วยหัวข้อวิชา
(ก) ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
(ข) บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหน้างาน
(๒) หมวดวิชาที่ ๒ กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานมีระยะเวลาการฝึกอบรม สามชั่วโมง ประกอบด้วยหัวข้อวิชา(ก) การบริหารกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของกระทรวงแรงงาน
(ข) สาระสำคัญของกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน และการนำกฎหมายไปสู่ การปฏิบัติ
(๔) หมวดวิชาที่ ๔ การป้องกันและควบคุมอันตราย มีระยะเวลาการฝึกอบรมสามชั่วโมง ประกอบด้วยหัวข้อวิชา (ก) การป้องกันและควบคุมอันตรายจากเครื่องจักร นาย
หมวด ๒
หลักสูตรเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับเทคนิค
(๑) หมวดวิชาที่ ๑ การจัดการความปลอดภัยในการทำงาน มีระยะเวลาการฝึกอบรมสามชั่วโมง ประกอบด้วยหัวข้อ วิชา
(๒) หมวดวิชาที่ ๒ กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานมีระยะเวลาการฝึกอบรม สามชั่วโมง ประกอบด้วยหัวข้อวิชา
(๓) หมวดวิชาที่ ๓ การวิเคราะห์งานเพื่อชี้บ่งอันตราย มีระยะเวลาการฝึกอบรมหกชั่วโมง ประกอบด้วยหัวข้อวิชา (ก) เทคนิคการชี้บ่งอันตรายเพื่อป้องกันอุบัติเหตุจากการทำงาน
(๔) หมวดวิชาที่ ๔ การฝึกปฏิบัติการป้องกันและควบคุมอันตราย มีระยะเวลาการฝึกอบรมหกชั่วโมง ประกอบด้วย หัวข้อวิชา
หมวด ๔
หลักสูตรเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับวิชาชีพ
(๑) หมวดวิชาที่ ๑ การจัดการความเสี่ยงด้านความปลอดภัย มีระยะเวลาการฝึกอบรม สิบสองชั่วโมง ประกอบด้วย หัวข้อวิชา(ก) แนวคิดการจัดการความเสี่ยงด้านความปลอดภัย
(ข) การประเมินความเสี่ยงและการจัดทำแผนงานจัดการความเสี่ยงด้านความปลอดภัย
(๒) หมวดวิชาที่ ๒ การจัดทำและวิเคราะห์แผนงานโครงการความปลอดภัย มีระยะเวลาการฝึกอบรมหกชั่วโมง ประกอบด้วยหัวข้อวิชา (๒) หมวดวิชาที่ ๒ การจัดทำและวิเคราะห์แผนงานโครงการความปลอดภัย มีระยะเวลาการฝึกอบรมหกชั่วโมง ประกอบด้วยหัวข้อวิชา (ข) กิจกรรมความปลอดภัยในการทำงาน (ค) การตรวจประเมินการปฏิบัติงานของสถานประกอบกิจการ
(๓) หมวดวิชาที่ ๓ การตรวจวัดและประเมินสภาพแวดล้อมในการทำงาน มีระยะเวลาการฝึกอบรมยี่สิบสี่ชั่วโมง ประกอบด้วยหัวข้อวิชา (ก) หลักการประเมินสภาพแวดล้อมในการทำงาน
(ข) วิธีการตรวจวัดและประเมินความเข้มของแสงสว่างและการฝึกปฏิบัติ
หมวด ๓
หลักสูตรเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับเทคนิคขั้นสูง
(๑) หมวดวิชาที่ ๑ กฎหมายและการส่งเสริมความปลอดภัย มีระยะเวลาการฝึกอบรมสามสิบชั่วโมง ประกอบด้วย หัวข้อวิชา
(ก) การบริหารกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของกระทรวงแรงงาน ระยะเวลาสามชั่วโมง (ข) สาระสำคัญของกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานระยะเวลาเก้าชั่วโมง (ค) สาระสำคัญของกฎหมายกองทุนเงินทดแทน ระยะเวลาสามชั่วโมง
(๒) หมวดวิชาที่ ๒ สุขศาสตร์อุตสาหกรรมและสิ่งแวดล้อม มีระยะเวลาการฝึกอบรมสามสิบชั่วโมง ประกอบด้วย หัวข้อวิชา
(ก) ความรู้พื้นฐานและกฎหมายเกี่ยวกับสุขศาสตร์อุตสาหกรรม ระยะเวลาหนึ่งชั่วโมงสามสิบนาที (ข) อันตรายจากความร้อน ความเย็น อันตรายจากสิ่งแวดล้อมทางชีวภาพและการป้องกันระยะเวลาหนึ่งชั่วโมง สามสิบนาที
(๓) หมวดวิชาที่ ๓ เทคโนโลยีและวิศวกรรมความปลอดภัย มีระยะเวลาการฝึกอบรมสามสิบชั่วโมง ประกอบด้วย หัวข้อวิชา(ก) ความรู้พื้นฐานและกฎหมายที่เกี่ยวกับวิศวกรรมความปลอดภัย ระยะเวลาหนึ่งชั่วโมงสามสิบนาที (ข) ระบบการอนุญาตทำงาน ระยะเวลาหนึ่งชั่วโมงสามสิบนาที
(๓) หมวดวิชาที่ ๓ เทคโนโลยีและวิศวกรรมความปลอดภัย มีระยะเวลาการฝึกอบรมสามสิบชั่วโมง ประกอบด้วย หัวข้อวิชา (ก) ความรู้พื้นฐานและกฎหมายที่เกี่ยวกับวิศวกรรมความปลอดภัย ระยะเวลาหนึ่งชั่วโมงสามสิบนาที (ข) ระบบการอนุญาตทำงาน ระยะเวลาหนึ่งชั่วโมงสามสิบนาที
(๔) หมวดวิชาที่ ๔ การดูแลสุขภาพอนามัยของลูกจ้าง มีระยะเวลาการฝึกอบรมสามสิบชั่วโมง ประกอบด้วยหัวข้อ วิชา (ก) ความรู้พื้นฐานและกฎหมายที่เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพอนามัยของลูกจ้างมีระยะเวลาหนึ่งชั่วโมงสามสิบนาที (ข) การค้นหาปัญหาสุขภาพและสาเหตุการเจ็บป่วยในกลุ่มลูกจ้าง ระยะเวลาหนึ่งชั่วโมงสามสิบนาที
หมวด ๕
หลักสูตรเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหาร
(๑) หมวดวิชาที่ ๑ การจัดการความปลอดภัยในการทำงาน มีระยะเวลาการฝึกอบรมสามชั่วโมง ประกอบด้วยหัวข้อ วิชา (ก) แนวคิดการจัดการความปลอดภัยในการทำงาน
(ข) บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหาร
(๒) หมวดวิชาที่ ๒ กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานมีระยะเวลาการฝึกอบรม สามชั่วโมง ประกอบด้วยหัวข้อวิชา(ก) การบริหารกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของกระทรวงแรงงาน (ข) สาระสำคัญของกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน และการนำกฎหมายไปสู่ การปฏิบัติ
(๓) หมวดวิชาที่ ๓ การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มีระยะเวลาการฝึกอบรมหกชั่วโมง ประกอบด้วย หัวข้อวิชา (ก) แนวคิดการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
(ข) แนวคิดมาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความ
นายธนาวุฒิ วรสิงห์ รหัส 704