Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Robert Owen, Charles Babbage, Adam Smith - Coggle Diagram
Robert Owen, Charles Babbage, Adam Smith
Robert Owen
เป็นชาวเวลส์ เกิดเมื่อ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2314 และถึงแก่กรรมเมื่อ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2401
รวมอายุ 87 ปี
เป็นนักปฏิรูปและนักอุตสาหกรรมชาวอังกฤษ
เป็นผู้จัดการคนแรกที่เห็นความสำคัญของ ทรัพยากรมนุษย์
เสนอให้มีการจัดตั้งชมรมสหกรณ์ขึ้น
ทดลองตั้งชมรมสหกรณ์ชื่อ
นิวฮาร์โมนี (New Harmony)
ชุมชนสหกรณ์สังคมนิยมของโรเบิร์ต โอเวน
ระบบการผลิตที่ปราศจากการเอารัด เอาเปรียบซึ่งกันและกัน
สหกรณ์ชุมชนโรงงาน
1.สภาพการทำงานของลูกจ้างจะต้องดีเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของลูกจ้าง
2.จะต้องไม่มีการขูดรีดแรงงาน
“Eight hours labour, Eight hours recreation, Eight hours rest"
Charles Babbage
(26 ธันวาคม 1791 – 18 ตุลาคม 1871)
เป็นนักคณิตศาสตร์ นักปรัชญาวิเคราะห์
และเป็นนักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์
ผลงาน : เครื่องคำนวณหาผลต่าง differential machine และเครื่องวิเคราะห์ analytical machine
Adam Smith
เกิด: มิถุนายน 2266, เคิร์กคาลดี้, สหราชอาณาจักร
เสียชีวิตเมื่อ: 17 กรกฎาคม 2333, Panmure House, เอดินเบอระ, สหราชอาณาจักร
การศึกษา: Kirkcaldy High School (พ.ศ. 2272–พ.ศ. 2280), เพิ่มเติม
บุตร: เดวิด แอนน์, เซซิเลีย มาร์กาเร็ต
รางวัล: ภาคีสมาชิกราชสมาคมแห่งลอนดอน, Fellowship of the Royal Society of Edinburgh
แนวคิดคลาสสิกของอดัม สมิธ
แนวคิดเกี่ยวกับผลประโยชน์ส่วนตัว ทฤษฎีมูลค่า ทฤษฏีค่าจ้าง การสะสมทุน ทฤษฎีค่าเช่า
ปรัชญาทางสังคมและการเมืองของ อดัม สมิธ
รัฐบาลจำเป็นต้องมีบทบาทมากขึ้นในฐานะเป็นผู้ประสานผลประโยชน์ และคุ้มครองผู้ที่อ่อนแอกว่า
แนวคิดด้านความมั่งคั่งของประเทศ
การคลังของรัฐ และการค้าระหว่างประเทศ
การแบ่งงานกันและสัดส่วนระหว่างจำนวนแรงงาน
ที่ถูกใช้ ถือว่าเป็นปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดความมั่งคั่งของประเทศ
แหล่งรายได้ที่สำคัญของรัฐบาลคือภาษี จึงต้องมีหลักในการจัดเก็บภาษีที่เหมาะสม
การค้าระหว่างประเทศ คือการแบ่งงานกันทำระหว่างประเทศ ซึ่งจะทำให้ประเทศคู่ค้าได้รับประโยชน์
ทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศ
คือ การแบ่งงานกันทำระหว่างประเทศ ทำให้แต่ละประเทศได้รับประโยชน์มากขึ้น
ทฤษฎีมูลค่า และทฤษฎีการกระจายรายได้
1.ต้นทุนการผลิตประกอบด้วยค่าจ้าง กำไร และค่าเช่า เป็นตัวกำหนดมูลค่าของสิ่งของในระยะยาว
2.ค่าจ้างในระยะยาวของแรงงานจะเท่ากับค่าจ้างในระดับพอยังชีพ
3.กำไรในระยะยาวมีแนวโน้มลดลง เนื่องจากประเทศมีการสะสมทุนมากขึ้น
4.ค่าเช่าเป็นผลตอบแทนหรือกำไรที่เกิดจากการผลิตบนที่ดิน และถูกกำหนดโดยราคาของผลิตผลบนที่ดินนั้น
ทฤษฎีมูลค่า
แรงงานเป็นปัจจัยการผลิตที่สำคัญอย่างเดียว
จำนวนแรงงานที่ใช้ในการผลิต
เป็นตัวกำหนดมูลค่าของสิ่งของ
ทฤษฎีค่าจ้าง
เกิดจากการสะสมทุนของนายทุน
และมีอุปสงค์ต่อแรงงาน
ทฤษฎีกำไร
กำไรเป็นค่าตอบแทนต่อการใช้ทุน ต่อการเสี่ยงของนายทุน
ทฤษฎีค่าเช่า
ค่าเช่า คือ ผลตอบแทนต่อค่าใช้ที่ดินที่ผู้เช่าต้องจ่ายให้แก่เจ้าของที่ดินหลังจากหักค่าใช้จ่ายในการผลิตแล้ว
จุดอ่อนของแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ของ อดัม สมิธ
คือการให้ความสำคัญต่อด้านอุปทานมากเกินไป