Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
องค์ความรู้ที่ได้รับตั้งแต่หน่วยที่ ๑ ถึง หน่วยที่ ๖ - Coggle Diagram
องค์ความรู้ที่ได้รับตั้งแต่หน่วยที่ ๑ ถึง หน่วยที่ ๖
หน่วยที่ ๔ เครื่องมือที่ใช้
ในการวัดผล
๑. พฤติกรรมและลักษณะการแสดงออก
๒. เครื่องมือในการวัดพฤติกรรมทางการศึกษา
๑.ตรวจสอบรายการ วัดเจตคติของผู้เรียน หรือความสามารถด้านทักษะของผู้เรียน
๒.มาตราส่วนประมาณค่า - แบบบรรยาย - แบบตัวเลข - แบบใช้สัญลักษณ์หรือภาพประกอบ - การจัดอันดับ
๓.แบบวัดเชิงสถานการณ์ จำลองหรือสร้างสถานการณ์ต่าง ๆ ขึ้น แล้วให้บุคคลแสดงความรู้สึก ด้านสติปัญญาที่ตนเองมี
๔. การสังเกต พิจารณาปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น เพื่อค้นหาความจริงบางประการอาศัยประสาทสัมผัสของผู้สังเกต
๕. การสัมภาษณ์ สนทนากันอย่างมีเหตุผล การสัมภาษณ์ประกอบไปด้วยบุคคล 2 ฝ่าย คือ ผู้สัมภาษณ์ และผู้ถูกสัมภาษณ์
๖. แบบสอบถาม
๗.การวัดผลภาคปฏิบัติ ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติวัดได้ทั้งกระบวนการและผลงาน
หน่วยที่ ๕ เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผล
ในศตวรรษที่ 21
๑. แนวคิดหลักของการเรียนรู้
ในศตวรรษที่ 21
เน้นที่องค์ความรู้ทักษะ ความเชี่ยวชาญและสมรรถนะที่เกิดกับตัวผู้เรียน
หลักสูตรและการสอนในศตวรรษที่ 21
การพัฒนาทางวิชาการในศตวรรษที่ 21
การประเมินทักษะในศตวรรษที่ 21
สภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
มาตรฐานในศตวรรษที่ 21
๒. กรอบแนวคิดทักษะการเรียนรู้
ในศตวรรษที่ 21
นักเรียนทุกคนต้องได้รับการพัฒนาให้มีความรู้ ความเข้าใจเนื้อหาหลักด้านวิชาการ
ทักษะเพื่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ด้านนวัตกรรม
ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี
สาระวิชาหลัก
ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ
ทุกคนต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต
3R
เขียนได้ Riting
คิดเลขเป็น Rithmetics
อ่านออก Reading
7C
ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหา Critical thinking & problem solving
ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม
Creativity & innovation
ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ Cross - cultural understanding
ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ
Collaboration, teamwork & leadership
ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ Communication, information & media literacy
ทักษะด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร Computing & ICT literacy
ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้
Career & lrarning skills
๓. แนวทางการวัดและประเมินทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ประการแรก การวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาผู้เรียน โดยเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผลการเรียน และการเรียนรู้ของผู้เรียน
ประการที่สอง การวัดและประเมิลผลเพื่อตัดสินผลการเรียน เป็นการประเมินสรุปผลการเรียนรู้
๔.จุดเน้นของการวัดและประเมินทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
เน้นการนำประโยชน์ของผลสะท้อนจากการปฏิบัตืของผู้เรียนมาปรับปรุงแก้ไข
ใช้เทคโนโลยีเพื่อยกระดับการทดสอบและประเมินผลให้เกิดประสิทธิภาพ
สร้างความสมดุลในการประเมินผลเชิงคุณภาพ
สร้างและพัฒนาระบบแฟ้มสะสมงาน ของผู้เรียน
หน่วยที่ ๖ แนวทางการวัดและประเมินสำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษา
๑. ความหมายของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ แบ่งออก 3 กลุ่ม
กลุ่มเด็กที่มีความบกพร่องทางการศึกษา
9 ประเภท
กลุ่มเด็กที่มีความสามารถพิเศษ
กลุ่มเด็กด้อยโอกาส
๒. ความสำคัญของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542 กำหนดแนวทางเกี่ยวกับคนพิการไว้ว่า การจัดการศึกษาต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอภาคกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไม่น้อยกว่า 12 ปีที่รัฐจะต้องจัดให้อย่างทั่วถึงโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
๓. จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมิลผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
แบ่งออก 2 ลักษณะ
การประเมินพัฒนาการและผลการเรียนรู้ของนักเรียน
การประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียน
๔. หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียน ที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
๕.แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียน ที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ตามกลุ่มสาระ
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน
๖.เกณฑ์การวัดและประเมิลผลการเรียนรู้
สำหรับนักเรียน
การตัดสินผลการเรียน ควรคำนึงถึงสิ่งนี้
เวลาเรียน
คุณภาพนักเรียน
มิติของการประเมิน
การให้ระดับผลการเรียน
การเลื่อนชั้น
การเรียนซ้ำชั้น
การสอนซ่อมเสริม
เกณฑ์การจบการศึกษา
การรายงานผลการเรียน
๗. แนวปฏิบัติในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษแต่ละประเภท
การประเมินระดับความรู้ความสามารถพื้นฐานและความต้องการจำเป็นพิเศษเพื่อนำไปใช้ในการวางแผนจัดการเรียนรู้
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด เพื่อใช้ในการวางแผนและออกแบบกสรเรียนรู้
การจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
การกำหนดเกณฑ์และแนวทางการวัดและประเมินผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและประเมินผล
การประเมินทบทวนและปรับปรุงแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
การรายงานผลการจัดการศึกษาตามแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล