Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 (ต่อ) การบาดเจ็บไขสันหลัง Spinal cord injury - Coggle Diagram
บทที่ 7 (ต่อ) การบาดเจ็บไขสันหลัง Spinal cord injury
•แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
การบาดเจ็บของกระดูก
การบาดเจ็บของกล้ามเนื้อ
พยาธิสภาพของการบาดเจ็บที่ไขสันหลัง
เกิดภายใน 5 นาที หลังบาดเจ็บ
พื้นที่สีขาวจะมีการบวม เกิดการขาดออกซิเจนและเลือดไปเลี้ยง
ภายใน 4 ชั่วโมงเซลล์ที่อยู่รอบๆบริเวณที่ได้รับบาดเจ็บจะมีเลือดไปเลี้ยงลดลง สารสื่อ
ประสาทยังคงหลั่ง
ใน 4 ชั่วโมง ถูกทำลาย ร้อยละ 40 ภายใน 24 ชั่วโมง ถูกทำลาย ร้อยละ 70
ประเภทของการบาดเจ็บไขสันหลัง
บาดเจ็บไขสันหลังชนิดสมบูรณ์ (complete cord injury)
การบาดเจ็บที่ท้าให้ไขสันหลังสูญเสียหน้าที่ทั้งหมดควบคุมกล้ามเนื้อหูรูดรอบทวารหนักไม่ได้ เกิดอัมพาตอย่างถาวร
Tetraplegia (Quadriplegia)
การอ่อนแรงหรือ
อัมพาตของแขนขาและล้าตัว อาจเป็นทั้งหมดหรือบางส่วนงตั้งแต่ระดับT1 ขึ้นไป
paraplegia
การอ่อนแรงหรืออัมพาตของขา หรือทั้งขา
และลำตัว อาจเป็นทั้งหมดหรือบางส่วนตั้งแต่ระดับ T2 ลงมา
บาดเจ็บไขสันหลังชนิดไม่สมบูรณ์ ( Incomplete cord injury)
ร่างกายส่วนที่อยู่ต่ำกว่าระดับพยาธิสภาพ มีบางส่วนของระบบ
ประสาทที่ยังท้าหน้าที่อย
Anterior spinal cord syndrome
เกิดจากไขสันหลังส่วนหน้าถูกทำลาย กลไกการได้รับบาดเจ็บ
จากอุบัติเหตุที่ท้าให้ส่วนของคองอในทันที
Central spinal cord syndrome
การบาดเจ็บท้าให้กล้ามเนื้ออ่อนแรงแบบปวกเปียก เนื่องจากมีการบาดเจ็บหรือการบวมของเซลล์ประสาทที่ควบคุมกล้ามเนื้อมือ
Brown-Sequard syndrome (Hemicord lesion)
ทำให้เกิด อัมพาตของแขนขาด้านหนึ่งของร่างกาย และความรู้สึกต่อ pain, temperature ด้านตรงข้ามของร่างกายลดลง
Posterior cord syndrome
ทำให้สูญเสียการรับความรู้สึกและการ
เคลื่อนไหวของข้อ
Conus medullaris syndrome
(Sacral cord injury)
มีการบาดเจ็บของไขสันหลังระดับกระเบนเหน็บและรากประสาทระดับเอว ทำให้กระเพาะปัสสาวะเป็นอัมพาตชนิดอ่อนปวกเปียกขณะที่กล้ามเนื้อขาอ่อนแรงเพียงเล็กน้อย
Cauda equina syndrome
รากประสาทระดับเอวและกระเบนเห็บได้รับบาดเจ็บ ทำให้กล้ามเนื้อขา กล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะ หูรูดและล้าไส้อ่อนแรง
Sacral sparing
มีการทำลายของไขสันหลังเป็น
บริเวณกว้าง แต่แขนงของหลอดเลือดบริเวณไขสันหลังยังดีอย
Spinal contussion
ภาวะที่ไขสันหลังได้รบการ
กระทบกระเทือน ทำให้เกิดการหยุดทำงานไปชั่วคราว
การแบ่งระดับความรุนแรงของการบาดเจ็บไขสันหลัง
ระดับ A (complete) อัมพาตอย่างสมบูรณ์ไม่มีการเคลื่อนไหวและไม่มีความรู้สึก
ระดับ B ((incomplete) มีความรู้สึกในระดับ S4-5 แต่เคลื่อนไหวไม่ได้เลย
ระดับ C (incomplete) ระดับความแข็งแรงของกล้ามเนื้ออยู่ต่้ากว่าระดับ 3
ระดับ D(incomplete) ระดับความแข็งแรงของกล้ามเนื้อตั้งแต่กว่าระดับ 3 ขึ้นไป
ระดับ E (normal) การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อและการรับความรู้สึกปกติ
การพยาบาล
การดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังในระยะก่อนถึง รพ.
ดูแลระบบทางเดินหายใจให้โล่ง ระวังไม่ให้กระดูกคอเคลื่อน โดยใส่ Philadephiacollar ที่มีขนาดพอดี
การดูแลห้ามเลือดในที่เกิดเหตุ
เคลื่อนย้าย (transportation) ต้องใช้คนช่วยอย่างน้อย 3 คน ให้ใช้วิธีการกลิ้งไปทั้งตัวแบบท่อนซุง (Log roll) เคลื่อนย้ายโดยการใช้ spinal board
เป้าหมาย คือ ช่วยเหลือชีวิต ป้องกันอันตรายต่อกระดูกสันหลังและไขสันหลังไม่ให้ถูกทำลายมากขึ้น ป้องกันภาวะแทรกซ้อนขณะเคลื่อนย้าย
การดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังในระยะเฉียบพลัน
การหายใจ ประเมินการหายใจ O2 sat
ระบบไหลเวียนโลหิต การให้สารน้ำเริ่มต้น เป็น 0.9%NSS
การให้ยา
Methylprednisolone ซึ่งป้องกันไม่ให้เซลล์ไขสันหลังถูกทำลายมากขึ้น และเพิ่มการไหลเวียนของเลือดไปเลี้ยงไขสันหลัง
การดูแลระบบทางเดินหายใจ ให้ O2
5 การดูแลระบบทางเดินอาหาร ควรมีการประเมิน ท้องที่โป่งตึงเป็นระยะๆ ประเมิน bowel sound
การดูแลระบบทางเดินปัสสาวะ ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บไขสันหลังจะเกิด neurogenic bladder มีการคั่งค้างของปัสสาวะควรคาสายสวนปัสสาวะ
จัดหาเตียงให้เหมาะสม
8 ดูแลร่างกายให้อบอุ่น
การดูแลกระดูกสันหลังที่ได้รับบาดเจ็บ
เป้าหมาย เพื่อให้ระบบประสาทการเคลื่อนไหวและการรับความรู้สึกดีขึ้น หลักการรักษา ได้แก่ การท้าให้ส่วนที่หักหรือบาดเจ็บนั้นอยู่นิ่ง (Immobilization)
การดึงกระดูกให้เข้าที่ ในกรณีกระดูกคอเคลื่อนโดยการใช้ เครื่องดึงกะโหลกศีรษะ (skull traction)
จำกัดการเคลื่อนไหว
ดึงกระดูกที่เคลื่อนออกจากแนวเดิมให้กลับเข้าไปอยู่ในแนวเดิมหรือใกล้เคียงกับแนวเดิม
ลดความเจ็บปวดบริเวณกระดูกที่หัก
การประเมินการบาดเจ็บไขสันหลัง
ซักประวัติ
ผู้บาดเจ็บทุกรายให้สงสัยไว้ก่อนว่ามีการบาดเจ็บของกระดูกคอ
ตกจากที่สูงในแนวดิ่ง
กระเด็นออกนอกยานพาหนะ
ได้รับบาดเจ็บรุนแรงที่ทรวงอกและช่องท้อง
ควบคุมปัสสาวะไม่ได้หลังบาดเจ็บ
การตรวจร่างกาย
1 ประเมินการหายใจ
2 ประเมินภาวะบวม
3 ประเมิน GCS
4 การประเมินระบบประสาท การบาดเจ็บไขสันหลัง
5 การประเมิน Sensation
การตรวจทางรังสีวิทยา
x-ray
-CT scan
MRI
Neurogenic shockภาวะช็อค ที่เกิดจากความผิดปกติของระบบประสาท
อาการสำคัญ
ความดันโลหิตต่ำเนื่องจาการสูญเสียการทำงานของระบบประสาทซิม
พาเทติก
Bradycardia
hypothemia
การพยาบาลในระยะเฉียบพลัน
การให้สารน้ำอย่างเพียงพอ เพื่อให้ SBP > 90 mmHg ปกติให้อัตราไหลของสารน้ำประมาณ 50-100 cc/hr.
ระวังอย่าให้สารน้ำมากเพราะจะทำให้ไขสันหลังบวม (cord edema) และปอดบวมน้ำจากภาวะน้ำเกิน (pulmonary edema)
ติดตามค่า hemoglobin และ hematocrit ถ้าต่ำแสดงว่าเสียเลือดจากภาวะอื่นหรืออาจมี hypovolumic shock ร่วมด้วย ต้องให้เลือดทดแทน
บันทึกจำนวนปัสสาวะเพื่อประเมินภาวะขาดน้ำแบะบ่งบอกการทำหน้าที่ของไต
บันทึกสัญญาณ ชีพ mornitor EKG ในรายที่ค่าความดันโลหิตต่ำอาจให้ยาช่วยเพิ่มความดันโลหิต เช่น Dopamine, Dobutamine
Spinal shock ภาวะที่ไขสันหลังหยุดทำงานชั่วคราว ภายหลังได้รับบาดเจ็บ
อาการสำคัญ
อวัยวะที่อยู่ต่ำกว่าระดับไขสันหลังได้รับบาดเจ็บจะเป็นอัมพาตแบบอ่อนปวกเปียก
(flaccid paralysis)
ความดันโลหิตต่ำ เนื่องจากหลอดเลือดของอัวยวะส่วนที่เป็นอัมพาตขยายตัวและชีพจรช้า
ไม่มีรีเฟล็กซ์โดยเฉพาะ bulbocaverneous reflex
ผิวหนังแห้งและเย็น เนื่องจากสัญญาณระหว่าง hypothalamusถูกตัดขาด
อวัยวะเพศขยายตัว (priaprism)
หลักการดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลัง
ระบบทางเดินหายใจ ขึ้นกับระดับไขสันหลังที่ได้รับการบาดเจ็บ
การไหลเวียนและหลอดเลือดเป้าหมาย ในการดูแลรักษาระบบหัวใจและหลอดเลือด เพื่อควบคุมร่างกายของผู้ป่วยให้ได้รับผลกระทบจากภาวะความดันโลหิตต่ำและการเต้นของหัวใจช้าน้อยที่สุด
การดูแลภาวะหัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ
ปัญหาที่พบในระบบนี้ คือDeep vein thrombosis
การพยาบาล
ตรวจวัดสัญญาณชีพ
ใช้ผ้ายืดพันรอบขา
ให้ดื่มน้้าให้เพียงพอประมาณ 3,000 cc/day
ถ้าสงสัยวามีอาการหลอดเลือดอุดตัน ให้งดการบริหารส่วนนั้นไปก่อน
ในรายที่มีความเสียงสูงอาจให้ยาต้านการแข็งตัวของเกร็ดเลือด
autonomic dysreflexia
การพยาบาล
• จัดให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูงเพื่อลดความดันโลหิต ในรายที่ไม่มีข้อห้าม
• แก้ไขสามเหตุหรือจากปัจจัยกระตุ้น เช่น ท้องผูก ปัสสาวะคั่ง ปวด เล็บขบ เสื้อผ้าคับ
• ให้ยาลดความดันโลหิต
• ถอดเข็มขัดหรือคลายเสื้อผ้าให้หลวม
ระบบทางเดินอาหาร
ภาวะท้องอืด Paralytic ileus
การพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพ
• ประเมิน bowel sound เมื่อพบว่าผู้ป่วยท้องอืดตึงแน่น ควรวัดรอบสะดือทุก 8 ชม
• อาการท้องตึงแน่นมากจะทำให้หายใจล้าบาก , ใส่ NG tube เพื่อระบายลมในลำไส้
• ล้วงอุจจาระออกทุกวันเป็นเวลา 3 วัน เพื่อลดแรงดันภายในล้าไส้
• ให้NPO ดูแลให้รับสารน้ำและเกลือแร่ทางหลอดเลือดด้าแทน
แผลในกระเพาะอาหาร
การพยาบาล
• ประเมิน SBP < 85 mmHg โดยไม่ทราบสาเหตุ
• Hct หรือ Hb ลดลงน้อยกว่า 10 gm%
• อาเจียนออกมาเป็นเลือดสด
• ท้องแน่นตึง, อุจจาระเป็น melema
• Gastrict content เป็น coffee ground
ภาวะทุพโภชนาการ
ระบบทางเดินอุจจาระและภาวะลำไส้ใหญ่พิการ
การพยาบาล
ล้วงอุจจาระออก
ให้ยาระบาย
ให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอ
กระตุ้นให้รับประทานอาหารที่มีกากใย
กระตุ้นการเคลื่อนไหวถ้าไม่มีข้อจำกัด
ฝึกการบริหารการขับถ่ายอุจจาระ
ระบบทางเดินปัสสาวะและภาวะกระเพาะปัสสาวะพิการ
การพยาบาล
คาสายสวนปัสสาวะไว้
ประเมินการขับปัสสาวะ
ฝึกขับปัสสาวะด้วยการสวนปัสสาวะเป็นครั้งคราว
ควบคุมจำนวนน้ำดื่มเพื่อให้ปัสสาวะมีจำนวนพอดีไม่มากน้อยเกินไป
ระบบผิวหนัง
การพยาบาล
• พลิกตะแคงตัวทุก 2 ชม ถ้าไม่มีข้อจำกัด
•งดการใช้ความร้อนจัด เย็นจัด บริเวณที่ไมรู้สึก
• ดูแลไม่ให้เปียกชื้น ดูแลให้ผิวหนังชุ่มชื้นอยู่เสมอ
•เมื่อเกิดแผลกดทับ เฝ้าระวังการติดเชื้อดูแลทำแผลโดยใช้
หลัก Aseptic เทคนิค