Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4-5, นางสาวลดาวัลย์ โจทะนัง เลขที่98 รหัส61113301099 - Coggle Diagram
บทที่ 4-5
การบำบัดหัตถการ
วิธีการเย็บแผล
Mattress Suture
Simple Suture
คำแนะนำการดูแลแผล
อย่าให้แผลสกปรก
ห้ามเปิดแผลหลังเย็บ 24 ชั่วโมง
สังเกตอาการผิดปกติ
ปวดให้ยาแก้ปวด
การเย็บแผล
การเตรียมผู้ป่วย
ให้ผู้ป่วยร่วมมือ
แผลที่สกปรกให้เย็บห่างๆ
ประเมินบาดแผล
บอกให้ผู้ป่วยทราบ
เตรียมสถานที่และเครื่องใช้
ควรจัดเตรียมให้ตามความเหมาะสมและถูกหลักการ
อุปกรณ์เครื่องใช้
ใบมีดชนิดต่างๆ
ด้ามมีด
ปากคีบ
กรรไกร
การเตรียมอุปกรณ์ในการเย็บแผล
ยาชาระงับความรู้สึก
Lidocaine or Xylocaine 1-2%
Procaine or Novacaine
การเตรียมบริเวณบาดแผลก่อนเย็บแผล
ยึกหลัก Sterile technique
ลักษณะบาดแผลที่เย็บได้
บาดแผลเกิดภายใน 24 ชั่วโมง
บาดแผลสปรกไม่มาก
แผลไม่ลึก
ไม่มีการทำลายเส้นเลือด
ไม่มีการฉีกขาดของส่วนอื่น
การฉีดวัคซีนป้องกันบาดทะยัก
การฉีก Toxoid
การฉีด Antitoxoin
เป็นวัคซีนชนิดผลิตจากพิษ
ปัจจัยที่มีผลต่อการหายของแผล
สารที่ใส่
อายุ
เทคนิคการเย็บแผล
ลักษณะ ขนาดและตำแหน่ง
สภาวะการเจ็บป่วย
การปฐมพยาบาลผู้ถูกงูพิษกัด
การประเมินภาวะการได้รับพิษกัด
พิษต่อระบบประสาท
งูเห่า
งูจงอาง
งูสามเหลี่ยม
พิษต่อระบบไหลเวียนเลือด
งูกะปะ
งูแมวเซา
งูเขียวหางไหม้
พิษต่อระบบกล้ามเนื้อ
งูทะเลทั้งหมด
ให้กำลัง ไม่ให้ผู้ป่วยตกใจ
ให้อวัยวะที่ถูกกัดอยู่นิ่งมากที่สุด
ไม่แนะนำให้รัดด้วยเชือก
รีบนำส่ง ร.พ.
ลักษณะและชนิดของบาดแผล
Closed wound
ผิวหนังพอง
บาดแผลที่มีการอักเสบมีหนองขังอยู่ข้างใน
บาดแผลฟกช้ำ
Opened wound
แบ่งตามภาวะ
แผลค่อนข้างสะอาด
แผลสกปรก
แผลสะอาด
แผลสกปรกติดเชื้อ
แบ่งตามลักษณะ
แผลจากของมีคม
แผลฉีกขาดกระรุ่งกระริ่ง
แผลที่มีปากบาดแผลแคบแต่ลึก
แผลถูกกระสุนปืน
แผลถลอก
ความหมาย
การทำบัดหัตถการ การทำการรักษาพยาบาลผู้ป่วยโดยใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ วัสดุและยาชาร่วมกับการผ่าตัดเล็ก
การคัดกรองการช่วยเหลือการพยาบาลขั้นต้นที่มีปัญหาด้านศัลยกรรม
บทบาทพยาบาลในการประเมินคัดกรอง
สามารถรอได้แต่ไม่นานนัก
พยาบาลอาจต้องให้การช่วยเหลือเบื้องต้น เช่น การเช็ดตัวเพื่อลดไข้
สามารถรอได้นานกว่า
ต้องรีบพบแพทย์ทันที
ขั้นตอนการประเมินคัดกรองผู้ป่วย
การซักประวัติ
องค์ประกอบที่จะได้มาซึ่งความสำเร็จของการซักประวัติสุขภาพ
ผู้ป่วย ต้องมีความพร้อม มีความเข้าใจ และยินยอมให้ความร่วมมือ
สถานที่ ควรจัดเป็นสัดส่วน มิดชิด สะอาด เรียบร้อย เป็นระเบียบ
ผู้ซักประวัติต้องใช้ทั้งศาสตร์ ศิลป์ และไหวพริบ
Symptoms
อาการบอกเล่า (Subjective symptoms) เช่น เหนื่อยหอบ เจ็บหน้าอก ปวดศีรษะ
Signs
อาการที่ตรวจพบ (Objective signs) เช่น ก้อนในช่องท้อง ท้องโต หน้าบวม
ขั้นตอนการซักประวัติสุขภาพ
รายละเอียดขั้นพื้นฐาน
อาการสำคัญ
ประวัติเจ็บป่วยปัจจุบัน
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
ประวัติครอบครัว
ประวัติส่วนตัว
ทบทวนอาการต่าง ๆ ตามระบบอวัยวะ
บทบาทพยาบาลในการดูแลรักษาพยาบาลเบื้องต้น และส่งต่อผู้ป่วย
การดูแลเบื้องต้น
การดูแลขั้นพื้นฐานของการดูแลอื่นๆ
การดูแลฉุกเฉิน
เป็นการดูแลการเจ็บป่วยหรือการบาดเจ็บที่เกิดขึ้นอย่างปัจจุบันทันด่วน
การดูแลพิเศษ
เป็นการดูแลที่จัดทำขึ้นในโรงพยาบาล และเป็นการดูแลรักษาในกรณีที่เกิดความเจ็บป่วยร้ายแรง
กลุ่มปัญหาโรคด้านศัลยกกรรม
การบาดเจ็บช่องท้อง (Abdominal injury)
Blunt injury เกิดจากแรงกระแทกถูกช่องท้อง
Penetrating injury เกิดจากการบาดเจ็บที่มีแผลทะลุเข้าช่องท้อง
การบาดเจ็บที่สันหลัง (Spinal injury)
อาการ/อาการแสดง ที่เป็นภาวะฉุกเฉิน ได้แก่ หมดสติ
การรักษาเบื้องต้น
การบาดเจ็บที่ทำให้เกิดความเสียหายต่อกระดูกสันหลัง
บาดเจ็บที่ทรวงอก (Chest injury)
Blunt injury เกิดจากได้รับแรงกระแทกหน้าอก
Penetrating injury เกิดจากการบาดเจ็บที่มีแผลทะลุเข้าช่องอก
กระดูกหัก (Fracture)
การหักที่ไม่สมบูรณ์(Incomplete frature) เช่น เป็นรอยร้าว
การหักที่สมบูรณ์(Complete frature)
บาดเจ็บที่ศีรษะ (Head injury)
.
การได้รับบาดเจ็บจากแรงที่กระทำต่อกะโหลกศีรษะ
อาการ/อาการแสดง
หมดสติ ปลุกไม่ตื่น ซึม
อาการปวดศีรษะมาก อาเจียน
การรักษาเบื้องต้น
ประเมินความรู้สึกตัว,ประเมิน ABCs
ประเมินการบาดเจ็บที่คอ
ประเมินอาการทางระบบประสาท
ให้ออกซิเจน
มีการเสียเลือดมาก ควรให้สารน้ำ
ดูแลบาดแผลร่วม
ถ้ามีการบาดเจ็บที่คอหรือไม่แน่ใจ ควรใส่ Cervical collar ไว้
สวนคาปัสสาวะ
งดอาหารและน้ำไว้ก่อน
เตรียมพร้อมให้ความช่วยเหลือฉุกเฉิน เช่น ใส่ endotrachail tube,
ทำการส่งต่อไปยังสถานบริการที่มีความพร้อม
กลุ่มอาการปวดท้อง (Abdominal pain)
Parietal (somatic) pain เป็นอาการปวดท้องที่เกิดจาก parietal peritoneum ถูกกระตุ้น
Referred pain เป็นการปวดท้องที่เกิดห่างจากต าแหน่งของอวัยวะที่มีพยาธิสภาพและทำให้ปวด
Visceral pain เป็นการปวดท้องที่เกิดจากอวัยวะภายในช่องท้องถูกกระตุ้น
แผลไหม้ (Burn)
แผลไหม้จากความร้อน (Thermal injury) ความร้อนแห้ง
แผลไหม้จากกระแสไฟฟ้า (Electrical injury) ทำให้เกิดแผลไหม้ตำแหน่งเข้าและออก
แผลไหม้จากสารเคมี (Chemical injury) อาจเป็นกรดหรือด่าง
แผลไหม้จากรังสี (Radiation injury) เช่น สารกัมมันตรังสี อุบัติเหตุจากรังสี
นางสาวลดาวัลย์ โจทะนัง เลขที่98 รหัส61113301099