Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 12 พยาธิสรีรภาพของภาวะผิดปกติระบบหัวใจและหลอดเลือด - Coggle Diagram
บทที่ 12
พยาธิสรีรภาพของภาวะผิดปกติระบบหัวใจและหลอดเลือด
คำศัพท์ ที่ควรทราบ
Afterload = แรงต้านการบีบตัวของหัวใจห้องล่างซ้าย
Atherosclerosis = การแข็งตัวของหลอดเลือดแดง
Congestion = การคั่งของน้าหรือเลือดในส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
Aneurysm = การป่งพองของผนังหลอดเลือด
Embolus = ลิ่มเลือด ฟองอากาศ ไขมัน ที่ลอยอยู่ในหลอดเลือด
Infarction = การตายของเนื้อเย่ือ จากการขาดออกซิเจน
Ischemia = การได้รับเลือดไป เลี้ยงไม่เพียงพอ
Orthopnea = เหนื่อยนอนราบไม่ได้
Paroxysmal nocturnal dyspnea = หายใจ ลำบากขณะนอนหลับเมื่อนอนราบปกติ
Plaque = แผ่นนูนที่เกิดขึ้นบนพื้นผิวของ อวัยวะต่างๆ
Preload = แรงดันในหัวใจห้องล่างซ้าย เมื่อหัวใจ คลายตัวเต็มที่
Stenosis= การตีบแคบของส่วนท่ีเป็นท่อหรือรู
Septum = ผนังก้ัน
Varicose=การพองตัวและคดงอ
กายวิภายของหัวใจ
ส่วนต่างๆของหัวใจ
หัวใจ เป็นอวัยวะภายใน รูปร่างคล้ายโคน โดยมีปลายโคนชี้ลงไปทางด้านล่างซ้าย ตั้งอยู่ภายใน ทรวงอก อยู่ระหว่าง ปอดทั้งสอง ข้าง ด้านหลังของกระดูกหน้าอก โดยค่อนไปทางด้านซ้าย ส่วนของหัวใจ 2ใน3 จะอยู่ทางด้านซ้าย จากแนวกึ่งกลางตัว และ 1ใน3 จะอยู่ทางด้านขวาจากแนวกึ่งกลางตัว
ขนาดของหัวใจ
หัวใจในผู้ใหญ่ มีความยาวประมาณ 12 เซนติเมตร และกว้างประมาณ 8-9 เซนติเมตรในบริเวณที่กว้างสุด และ มีความหนา ประมาณ 6 เซนติเมตร
น้ำหนักของหัวใจ
ในผู้ชายมีน้ำหนักประมาณ 280-340 กรัม ในผู้หญิงมีน้ำหนักประมาณ 230-280 กรัม และหัวใจจะมีการขยายขนาด และน้ำหนักมากขี้นตามอายุ โดยในผู้ชายจะมีการขยายขนาดมากกว่าในผู้หญิง
หัวใจห้องบนขวา
มีขนาดใหญ่กว่าหัวใจห้องบนซ้าย แต่ มีผนังบางกว่าห้องบนซ้าย คือประมาณ 2 มิลลิเมตร และมีความจุ ประมาณ 57 ซีซี
หัวใจห้องบนซ้าย
มีขนาดเล็กกว่าหัวใจห้องบนขวา และมีผนังหนากว่า คือประมาณ 3 มิลลิเมตร แยกจากหัวใจห้องบนขวาโดย ผนังกั้นหัวใจส่วนบน
หัวใจห้องล่างขวา
มีรูปร่างสามเหลี่ยม ต่อจากหัวใจห้องบนขวา โดยมีลิ้นหัวใจไตรคัสปิดกั้น แบ่งหัวใจห้องบนขวาและล่างขวา ผนัง หัวใจห้องล่างขวาจะบางกว่าห้องล่างซ้ายในอัตราส่วน 1:3 แต่จะมี ความจุเท่ากับหัวใจห้องล่างซ้ายคือ ประมาณ 85 ซีซี หัวใจห้องล่าง ขวาจะต่อกับเส้นเลือดแดงพัลโมนารี่ โดยมีลิ้นหัวใจพัลโมนิคกั้นระหว่างกัน
หัวใจห้องล่างซ้าย
รูปร่างเป็นรูปโคน และเมื่อตัดขวางจะมีรูปร่างคล้ายวงรีหรือค่อนข้างกลม และประกอบเป็นส่วนของยอด หัวใจ โดยมีผนังหนาเป็น 3 เท่าของหัวใจห้องล่างขวา
ลิ้นหัวใจไตรคัสปิด(Tricuspid valve)
กั้นระหว่างหัวใจห้องบนขวา
และห้องล่างขวา ประกอบด้วยแผ่นลิ้นหัวใจรูปสามเหลี่ยม 3 แผ่นจะเปิดในจังหวหัวใจคลายตัวทำให้เลือดไหลจากหัวใจห้องบน ขวาสู่ห้องล่างขวา
ลิ้นหัวใจไมตรัล(Mitral valve)
กั้นระหว่างหัวใจห้องบนซ้ายและหัวใจห้องล่างซ้าย ประกอบด้วยแผ่นลิ้น หัวใจรูปสามเหลี่ยม 2 แผ่นจะ เปิดในจังหวะหัวใจคลายตัว ทำให ้เลือดไหลจากหัวใจห้องบนซ้ายสู่ห้องล่างซ้าย
ลิ้นหัวใจพัลโมนิค(Pulmonic valve)
กั้นระหว่างหัวใจห้องล่างขวาและเส้นเลือดแดง พัลโมนารี่ ประกอบด้วยแผ่นลิ้นหัวใจ 3 แผ่นรูปคล้ายเสี้ยวพระจันทร์ โดยมีด้านนูนหันไป ทางเส้นเลือดแดง พัลโมนารี่ จะเปิในจังหวะหัวใจบีบตัวทำให้เลือดไหลจากหัวใจห้องล่างขวไปเส้นเลือดแดงพัลโมนารี่
ลิ้นหัวใจเอออร์ติค(Aortic valve)
กั้นระหว่างหัวใจห้องล่างซ้ายและ เส้นเลือดเอออร์ตา ประกอบด้วยแผ่น ลิ้นหัวใจ 3 แผ่นรูปคล้ายเสี้ยวพระ จันทร์ โดยมี 2 แผ่นอยู่ด้านหน้าและ 1 แผ่นอยู่ด้านหลังจะเปิดในจังหวะหัวใจบีบตัว ทำให้เลือดไหลจากหัวใจห้องล่างซ้ายไปเส้น เลือดแดงเอออร์ตา
ความผิดปกติของระบบไหลเวียนโลหิต
ความผิดปกติของหลอดเลือด
การหนาตัวของผนังหลอดเลือด
ภาวะความดันโลหิต สูง
ความดันโลหิต ต่ าจากการเปลียนท่า
ความผิดปกติอืน ๆ ของหลอดเลือดทีควรทราบ
ความผิดปกติของหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัว ใจ
ภาวะหัว ใจล้มเหลว
ความผิดปกติอืน ๆ ของหัว ใจทีควรทราบ
ความสําคัญของระบบไหลเวียน
เซลล์ของร่างกายจะทํางานอยู่ได้ต้องได้รับออกซิเจน สารอาหารและอยู่สิ งแวดล้อมทีเหมาะสมระบบไหลเวยี นจะทําหนาทีนําออกซิเจนและสิงจําเปนในการดํารงชีวิตไปเลียงเซลล์ทีเปนส่วนประกอบต่าง ๆของร่างกายและนําของเสียกลับบออกมําเพือขับออก
ระบบไหลเวียนโลหิต ประกอบด้วย
หลอดเลือดดํา(vein)
หัว ใจ (heart)
หลอดเลือดแดง (artery)
หลอดเลือดฝอย (blood capillary)
อวัยวะที่ได้รับผลกระทบมากที่สุด คือ หัว ใจ สมอง ไต
ลําไส้เล็ก และ lower extremitiesซึงเกิดพยาธิสภาพ
Mesenteric artery
Carotid และ Vertebral artery
Abdominal aorta/Terminal aorta
Coronary artery
Renal artery
ความดันโลหิต ต่ำจากการเปลียนท่า
Takayasu’s disease
Kawasaki’s disease
Thromboangitis obliterans
ความผิดปกติอืน ๆ ของหลอดเลือดทีควรทราบ
Venous thrombosis
Aortic aneurysm
Raynaud’s syndrome
หลักการรักษาพยาบาล
หลักการรักษาภาวะ atherosclerosis คือการทำให้ผนังหลอดเลือดบางลง เพื่อเพิ่ม งวดของหลอดเลือด
โดยการทําผ่าตัดเพื่อดูดเอา plaque ออก (endarterectomy) หรือ ทำการตัดต่อเส้นเลือด (Surgical bypass) การทําBalloon angioplasty และ การทํา endovascular stent
ผู้ทีมีแนวโน้มว่าจะ มีโอกาสเกิดภาวะ atherosclerosis เนื่องจากมีระดับไขมันในเลือดสูงการแนะนําให้ปรับ พฤติกรรมสุขภาพใหม่เป็นบทบาทของพยาบาลโดยเน้นการออกกําลังกาย การลดปัจจัยเสียง ต่างๆ เช่นการสูบบุหรี่การรับประทานอาหารที่มีไขมันสูง
และแนะน้ำการควบคุมน้ำหนัก เป็นต้น
ภาวะความดันโลหิต สูง
ความดันโลหิต ตัวบน ( Systolic Pressure ) สูงกว่า140 มิลลิเมตรปรอทและ หรือ ความดันโลหิต ตัวล่าง ( diastolic Pressure ) สูงกว่า 90 มิลลิเมตรปรอท
ชนิดของความดันโลหิต สูง
Primary hypertension หรือ Essential hypertension
เป็นความความดันโลหิต สูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ
ซึ่งพบเป็นส่วนใหญ่ของผู้ป่วยที่เป็นความดันโลหิต สูง(ประมาณร้อยละ 90) และพบว่ามีปัจจัยส่งเสริม ต่าง ๆ ที่ชักนำให้เกิดความดันโลหิตสูงชนิดนี่
Secondary hypertension
เป็นความดันโลหิตสูงชนิดที่ทราบสาเหตุ ซึ่งมีสาเหตุจากโรคไต เช่น โรคหลอดเลือดแดงของ
ไตตีบ (renal artery stenosis) สาเหตุจากโรคของระบบต่อมไรท้อ เช่น Cushing's syndrome, Pheochromocytoma
พยาธิสรีรภาพ
Genetic defect มีความผิดปกติของไตเองตั่งแต่กำเนิด ไม่สามารถ excrete sodium และน้ำได้
Sympathetic nervous system มี overactivity เพิ่มการหลังของสาร adrenalineและNRoreenaidnraenngailointeensาinsysteกmมากกว่าปติ
ปัจจัยนี้ได้มีผู้พยายามศึกษาระดับเรนินในพลาสม่า
ผู้ป่วยที่มีความดันโลหิต สูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ โดยแบ่งตามระดับเรนินว่าสูง ปกติหรือต่ำ
การที่ไตถูกทำลาย หรือ หลอดเลือดแดงไปเลี้ยงที่ไตตีบลงจะกระตุ้น renin angiotensin aldosteroneSystem คือ renin enzyme ถูกหลั่งออกมาจาก Juxtaglomerular cell ของ renal afferentarteriole มากขึ้นทำปฏิกิริยาต่อ Renin substrate จากตับ เป็น Angiotensin I แล้ว Angiotensinconverting enzymeจากปอดจะเปลี่ยน Angiotensin I เป็น Angiotensin II ซึ่งเป็นตัวทำให้ห ลอดเลือดหดตัว และ Angiotensin ยังกระตุ้นให้ Adrenal gland หลัง Aldosterone ซึ่งเป็น hormoneที่เพิ่มความสามารถในการดูดซึมโซเดียมและน้ำที่ distal tubule เพื่อแลกเปลี่ยนโปแตสเซียมทําให้มีการเพิ่มปริมาณในระบบ
ไหลเวียนโลหิต เพิ่มขึ้นมีผลให้ความดันโลหิสูงขึ้น
นางสาวณัฐรัตน์ วรรณภา UDA6380051