Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและสร้างเสริมสุขภาะผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
การป้องกันและสร้างเสริมสุขภาะผู้สูงอายุ
จัดการปัญหาภาวะโภชนาการ
จำนวนต่อมรับรสและเส้นประสาทลดลง
การทำหน้าที่ของกระเพาะอาหารลดลง
ตับและเลือดไปเลี้ยงตับลดลง ความสามารถในการกำจัดยาลดลง
ประสิทธิภาพการเผาผลาญลดลง
การเปลี่ยนแปลงโดยทั่วไปเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ
อัตราการเผาผลาญและความต้องการพื้นฐานลดลง
protein-calorie malnutrition –
PCM
ปัจจัยที่มีอิทธิพล
สภาวะจิตใจ อารมณ์
การลดลงของระดับการรับรู้
ความสะอาดของปากและฟัน
ความเจ็บป่วยเรื้อรัง
การใช้ยา
ความต้องการสารอาหาร
ความต้องการพลังงาน จะลดลงในผู้สูงอายุ
โปรตีน = 1 gm / 1 kg / day
ไขมัน = ไม่เกิน 30 %
คาร์โบไฮเดรต = 50 – 55 %
ca 1,200 mg / d
การประเมินภาวะโภชนาการ
ประเมินอาหารที่บริโภค จดบันทึก ปริมาณ
การวัดสัดส่วน BMI
ใช้แบบประเมิน MNA , NAF
ภาวะทุพโภชนาการ (Malnutrition)
สาเหตุ
ฟันหลุดร่วง น้ำลายลดลง
อัมพาต
การพยาบาล ภาวะโภชนาการต่ำ
เบื่ออาหาร , อิ่มเร็ว
เลือกอาหารที่ผู้สูงอายุพอรับประทานได้ กลิ่น/รส ไม่จัด
หลีกเลี่ยงอาหารมันและทอด
คลื่นไส้ อาเจียน
กินอาหารครั้งละน้อยๆ บ่อยๆ
เลือกอาหารจืดหรือรสอ่อน
การพยาบาล ภาวะโภชนาการเกิน
ประเมินสาเหตุของภาวะโภชนาการเกิน เช่น ปริมาณอาหารที่รับประทาน
ส่งเสริมการควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
ส่งเสริมการออกกำลังกาย
ประเภทของการออกกำลังกาย
เพิ่มความแข็งแรงทนทานของกล้ามเนื้อ
isometric exercise
isotonic exercise
เพิ่มสมรรถภาพของปอดและหัวใจ
aerobic exercise
anaerobic exercise
เพิ่มความยืดหยุ่นและผ่อนคลาย
โยคะ ไทชิ
ประโยชน์ของการออกกำลังกาย
เสริมสร้างการทรงตัวร่างกาย
ความแข็งแรงของหัวใจ หลอดเลือด ปอด
เพิ่มกำลังกล้ามเนื้อ สร้างความสัมพันธ์กล้ามเนื้อ
แนวทางการจัดโปรแกรมการออกกำลังกาย
ตรวจร่างกายว่าไม่มีความเจ็บป่วย
ประเมินระดับการทำกิจกรรม การเคลื่อนไหวของข้อ
จัดกิจกรรมตามความสนใจ ความสามารถ ความจำกัด
ตรวจสอบอัตราการเต้นของหัวใจ
มี warm up & cool down
ข้อห้าม
หลีกเลี่ยง isometric exercise
ไม่ควรออกกำลังกายที่ต้องออกแรงเกร็ง
ออกกำลังกายขณะเจ็บป่วย
ส่งเสริมการนอนหลับพักผ่อน
วงจรการนอนหลับ
NREM 1
เวลา 1-7 นาที
NREM 2
เวลา 10-25 นาที
NREM3
เกิดหลังเริ่มต้นหลับ 30-45 นาที
NREM 4
REM
การหลับๆ ตื่นๆ P R BP เพิ่มขึ้น
การหลับผิดปกติ
INSOMIA
delayed sleep onset
interrupted sleep
early awakening
hypersomnia
sleep apnea
nacrolepsy
Parasomia
การพยาบาล
หลีกเลี่ยงการหลับตอนกลางวัน
เข้านอน ตื่นนอนเป็นเวลา
จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ
ดื่มเครื่องดื่มที่มี L-tryptopham
จัดการความเครียด
สาเหตุ
การเจ็บป่วย
การถูกทารุณกรรม abuse
สูญเสียบทบาท
การปรับตัวต่อความเครียด
การแก้ไขที่ปัญหา
การแก้ไขอารมณ์ที่เป็นทุกข์
ทำสมาธิ
จินตนาการไปในทางบวก
นอนหลับ
ลักษณะทางอารมณ์และจิตใจที่น่ารู้บางประการ
อารมณ์เหงา
สาเหตุ
ขาดความรู้สึกเป็นกันเอง
สุขภาพโดยทั่วไปเริ่มไม่ดี
ภาวะซึมเศร้า
สาเหตุ
ทางร่างกาย
ภาวะสมองเสื่อม หลอดเลือดสมองอุดตัน โรคพาร์กินสัน
ทางจิตใจ
ขาดหรือลดน้อยลงของสารสื่อประสาทบางชนิดในสมอง
ภาวะความสูญเสีย
อาการแสดง
เซ็ง
เบื่อหน่ายสิ่งต่าง ๆ
เบื่ออาหาร
นอนไม่หลับ
อ่อนเหลีย
การพยาบาล
ใช้แบบสอบถาม
การวินิจฉัยการพยาบาล
การช่วยเหลือสนับสนุนให้ผู้สูงอายุสามารถจัดการกับความเครียดได้
ควรรีบมาพบจิตแพทย์หากมีภาวะซึมเศร้ารุนแรง
สร้างกำลังใจให้ผู้สูงวัย
ให้ความเคารพยกย่อง
ใส่ใจในกิจวัตรประจำวันเช่นอาหาร การพักผ่อน
นันทนาการ
กิจกรรมที่ทำตามสมัครใจในยามว่าง
ประเภทกิจกรรม
กิจกรรมนันทนาการเกม กีฬา และ การละเล่น
กิจกรรมนันทนาการศิลปหัตถกรรม และงานฝีมือ
การร้องเพลง และดนตรี
เข้าจังหวะและ การเต้นรำ
ด้านภาษาและ วรรณกรรมเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมปัญญาความคิด
วิธีดำเนิน
ประเมินผู้สูงอายุ
เลือกกิจกรรมนันทนาการ ที่เหมาะสม
เตรียมการ ดำเนินการ สิ้นสุดกิจกรรม
จัดสิ่งแวดล้อมสำหรับผู้สูงอายุ
ข้อแนะนำสำหรับที่อยู่อาศัย
ตัวบ้าน ควรเป็นบ้านชั้นเดียว ไม่มีขั้นสูง มีชานพัก แสงสว่างเพียงพอ
พื้นบ้าน ควรปรับให้มีลักษณะเป็นพื้นเรียบ ไม่ขรุขระและไม่ขัดมันจนลื่น
ห้องน้ำ ที่สำคัญควรทำราวเกาะไว้รอบๆ
ห้องนอน อยู่ใกล้ห้องน้ำ มีแสงสว่าง
สภาพแวดล้อมภายใน
สวิตช์ไฟ สูงไม่เกิน 3 ฟุต
ปลั๊กไฟ สูงจากพื้นอย่างน้อน 1.5 ฟุต
ลูกบิด แบบงัด ไม่หมุน
อื่น ๆ
การมีส่วนร่วมในสังคม
การมีส่วนร่วมในสังคม
การมีกิจกรรมในครอบครัว ชุมชน และสังคม
ประเภทของกิจกรรม
กิจกรรมที่ไม่มีรูปแบบ
การช่วยเหลืองานของสมาชิกในครอบครัว
กิจกรรมที่มีรูปแบบ
เข้าร่วมในสมาคมต่าง ๆ การเข้ากลุ่มทางศาสนา
กิจกรรมที่ทำคนเดียว
การทำงานในยามว่าง
การป้องกันภาวะพลัดตกหกล้ม
FALL
เปลี่ยนท่าโดยไม่ตั้งใจและเป็นผลให้ร่างกายทรุด
ปัจจัยเสี่ยง
ภายในร่างกาย
ความบกพร่องการมองเห็น
ความบกพร่องของการทรงตัว
ภายนอกร่างกาย
พื้นที่มีลักษณะไม่ปลอดภัย
สิ่งก่อสร้างที่ไม่เหมาะสม
ผลกระทบ
การเสียชีวิต
ความวิตกกังวล
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ
แนวทางป้องกัน
การส่งเสริมสุขภาพ
การใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน
การปรับพฤติกรรมส่วนตัว
การประเมิน
ซักประวัติ
ตรวจร่างกาย
Timed up & Go
One leg stance test
BBS
หลักการพยาบาล
การจำแนกผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยง
ให้คำแนะนำแก่ผู้สูงอายุ
ดูแลผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงสูง
การป้องกันโรค
วัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ สามารถที่จะลดอัตราการเสียชีวิต
ผู้สูงอายุทุกคนควรได้วัคซีนนี้เป็นประจำทุกปี