Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การเปลี่ยนแปลงในระบบโครงสร้างร่างกาย - Coggle Diagram
บทที่ 7 การเปลี่ยนแปลงในระบบโครงสร้างร่างกาย
การเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุมีความสำุญอย่างไร
ผู้สูงอายุก็ไม่ใช่ผู้ใหญ่ที่อายุมากเฉยๆระบบการทำงานและการตอบสนอของร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงตามอายุที่เยอะขึ้น ดังนั้นเราไม่สามารถใช้วิธีการดูแลผู้ใหญ่ในผู้สูงอายุได้
ปัญหาทั่่วไป
การมองเห็น
การได้ยิน
การเปลี่ยนแปลง
1.การรับรส / กลิ่น
2การสัมผัส (Touch).
3.ประสาทสั่งงาน
4.ผิวหนัง
9.กล้ามเนื้อ
6.การหายใจ
5.หัวใจและหลอดเลือด
7.ทางเดินอาหาร
8.ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
การเปลี่ยนทางสรีรววิทยาของผู้สูงอายุ การเปลี่ยนแปลของระบบต่างๆ ของร่างกาย
ผิวหนัง
จะบาง แห้ง เหี่ยวย่น
ต่อมเหงื่อ
ลดน้อยลง การขับเหงื่อน้อยลง
ผม
และขนร่วงเป็นสีขาว
ระบบประสาทสัมผัส
ตา
สายตาเปลี่ยน กล้ามเนื้อลูกตาเสื่อม
หู
ประสาทรับเสียงเสื่อม
จมูก
ประสาทกลิ่นบกพร่อง
ลิ้น
รู้รสน้อย
ผิวหนัง
เมื่ออายุมากขึ้น เนื้อเยื่อต่างๆจะขาดความตึงตัว เนื่องจากต่อมเหงื่อของผู็สูจะฝ่อลง จำนวนน้ำในเซลล์ลดลง น้ำมันใต้ผิวหนังน้อยเลือดมาเลี้ยงบริเวณผิวหนังก็น้อยลง ทำให้ผิวหนีงเริ่มเหี่ยว เเห้งหยาบและทำใ้เกิดอาการคันได้
การลดจ านวนไขมันใต้ผิวหนังท าให้ผิวหนังหย่อนยาน ปรากฏรอยย่นชัดเจน ฉะนั้นคนวัยนี้จะรู้ส฿กหนาวง่ายเพราะไขมันใต้ผิวหนังน้อยลง
ผิวหนังจะบางทำให้เกิดแผลหรือจ้ำเลือดง่าย
การดูแลผิวของผู้สูงอายุ
หลีกเลี่ยงการเกาหรือเสียดสีบริเวณที่มีอาการคันนื่องจากจะกระตุ้นให้มีอาการอักเสบติดเชื้อที่ผิวหนังได้
สวมใส่เสื้อผ้าที่โปร่งสบายผิว
ดื่มน้ำให้เพียงพอเพื่อเพิ่มความชุ่มชื้นให้กับผิวหนัง
หลีกเลี่ยงการถูกแสงแดดจัดเป็นเวลานาน
องกันแสงแดดโดยทาครีมกันแดด สวมหมวก กางร่ม และใส่เสื้อแขนยาว
กล้ามเนื้อ
ร่างกายประกอบด้วยกล้ามเนื้อที่ส าคัญ คือกล้ามเนื้อลาย ซึ่งเป็นกล้ามเนื้อค้ำจุนโครงสร้างร่างกาย เช่นกล้ามเนื้อ แขน ขา
กล้ามเนื้อในร่างกายจะมีปริมาตรมากที่สุดในช่วงวัย 30 ปี จากนั้นมวลกล้ามเนื้อจะลีบลงเรื่อยๆ สิ่งที่ควรดูแลคือ กล้ามเนื้อเป็ฯสิ่งที่สำคัญอย่างมากกับความฟิตของผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุที่ยังกระฉักระเฉง ทำกิจกรรมต่างๆได้ผู้สูงอายุที่นอนติดเตียงที่บ้านนั้น วัดกันที่มวลกล้ามเนื้อ
ถ้าผู้สูงอายุที่นอนติดเตียงเป็นเวลานานกว่า 1วัน กล้ามเนื้อจะมีการฝ่อตัวลงทัน เราจะพบว่าผู้สูงอายุที่เข้าโรงพยาาบล 1 สัปดาห์แรกจะไม่ได้ทำกายภาพหรือเคลื่อนไหวเลยมีโอกาสทำให้ผู้สูงอายุนั้นอ่อนเรียงกลายเป็นคนติดเตียงได้
เกล็ดความรู้ทีสำคัญนการดูแลกล้ามเนื้อของผู้ดูแล
การรักษามวลกล้ามเนื้อของผู็สูงอายุ
ควรกระตุ้นให้ผู้สูงอายุทำกิจกรรมเคลื่อนที่ และใช้กล้ามเนื้อ หากผู้สูงอายุไม่สามารถเคื่อนไหวได้ ควรทำกายภาพพื้นฐานเพื่อรักษามวลกล้ามเนื้อ
รับประทานอาหารที่มีโปรตีน เป็นที่จำเป็นมากเพื่อเสริมจำนวนกล้ามเนื้อ
กระดูก
ความหนาแน่นของมลกระดูฏจะเพิ่มมากที่สุดประมาณอายุ 30 ปี จากนั้นจะค่อยๆลดลง ในผู้หญิงอายุวัยหลังหมดประจำเดือน มวลกระดูกจะลดลดงอย่างรวดเร็ว ทำให้ผู้หญิงมีภาวะเสี่ยงต่อโรคกระดูกพรุนสูงกว่าผู็ชาย
วัยสูงอายุเป็นวัยที่กระดูกเปราะง่าย ถ้าได้นับอันตรายพียงเล็กน้อยจะทำให้กระดูกหักง่าย เนื่องมาจากมีการสลายตัวของเเคลเซียมออกจากกระดูกมากขึน และอีกสาเหตุนึงคือขาดวิต่มินดี เพราะผู้สูงอายุมักไม่ชอบแสงแดด
เกล็ดความรู้ทีสำคัญนการดูแลกระดูกของผู้ดูแล
กระดูกพรุนทำให้หกล้ม หรือกระแทก ทำให้ผู้สูงอายุมีโอกาสทำให้กระดูกหักได้สูง ดังนั้นผู้ดูแลควรคิดในใจเสมอว่าผู้สูงอายุทุกคนมีภาวะกระดูกพรุน
ผู้สูงอายุอาจมีส่วนสูงที่ลดลงจากกระดูกที่ลดลง
การรับประทานแคลเซียมเป็นสิ่งที่จำเป็นเพื่อรักษามวลกระดูก ปริมาณแคลเซียมที่เหมาะสมคือ 1000-1500 มิลลิกรัมต่อวัน
Osteoarthritis (ข้อเสื่อม)
เป็นอาการที่กระดูกอ่อนในข้อต่อเสื่อมสภาพลง จากปัจจัยเสี่ยงต่างๆ เช่นอายุ การใช้งาน
การเสื่อมสภาพของกระดูกอ่อนส่งผลให้กระดูกเสียดสีกันหรือเกิดเเรงกดมาก
โดยทั่วไปแล้ว Osteoarthritis มักเกิดบริเวณข้อนิ้วมือ เข่า สะโพก กระดูกสันหลัง
อาการของข้อเสื่อม
ความรุนแรงของอาการอาจเเตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง เช่น อายุของผู้ป่วย หรือตำแหน่งของข้อต่อ โดยอาการดังกล่าว
ได้แก่
1.เจ็บปวด เมื่อขยับข้อต่อ
2.ข้อต่อบวม
3.อาการกดเจ็บ เมื่อมีการใช้แรงกดบริเวณข้อต่อ
4.รู้สึกได้ยินการเสียดสีของข้อต่อ
5.สูญเสียความยืดหยุ่นไม่สามารถขยับข้อต่อได้เต็มที่เหมือนเมื่อก่อน
6.ข้อต่อเกิดการติดเเข็ง เมื่อขยับตัวหลังจากอยู่นิ่งๆ หรือไม่ได้ทำกิจกรรมเป็นเวลนาน เช่นการตื่นตอนเช้า
สาเหตุของข้อเสื่อม
อายุมากกว่าร้อยละ 80 ของผู้ที่มีอายุมากกว่า 75 ปี จะเป็็นโรคข้อเสื่อม ถ้านำผู้สูงอายุกลุ่มดังกล่าวมาถ่ายเอกซเรย์ก็จะพบข้อเสื่อมทุกรายหรือไม่นั้นก็เกิดขึ้นจากปัจจัยอื่น
ประสสิทธิภาพของการซ่อแซมกระดูกข้อต่อ และการส่งเลือดไปเลี้ยงข้อจะลดลงล
โรคอ้วน ู็ป่วยโรคอ้วนมักเผชิญอาการOsteoarthritis บริเวณเข่าและสะโพก เพราะข้อต่ออาจรับน ้าหนักมากเกินไป ท าให้เสี่ยงต่อการเกิดความเสียหายมากขึ้น
เพศ ผู้หญิงมีแนวโน้มเป็น Osteoarthritis มากกว่าผู้ชายโดยเฉพาะผู้หญิงที่มีอายุที่ 50 ปีขึ้นไปหรือช่วงวัยหมดประจำเดือน เนื่องขาดออร์โมนเอสโตรเจน
พันธุกรรม Osteoarthritis อาจถ่ยทอดทางพันธกรรมได้
เคยได้รับบาดเจ็บ หรือเกิดความเสียหายบริเวณข้อต่อ
ใช้งานข้อต่อหนักเกินไป อาจพบในกลุ่มนักกีฬา ผู้ที่ต้องยกของหนัก หรือผู้ต้องทำงานด้วยการใช้มือจับอุปกรณ์ที่มีแรงกระเเทก เช่น สว่านลม
การวินิจฉัยข้อเสื่อม
ให้ผู้ป่วยแสดงลักษณะอาการ ตำแหน่งที่ปรากฏอาการ ระยะเวลาที่ปวดและประวัติการเกิด Osteoarthritis
เอกซเรย์ แม้กระดูฏอ่อนจะไม่ปรากฏบนภาพเอกซเรย์แพทย์อาจวินิฉัยว่า กระดูกอ่อยเสื่อมสภาพหรือหายไป
เอ็มอาร์ไอ (Magnetic Resonance Imaging: MRI) เป็นการใช้คลื่นวิทยุและสนามเเม่เหล็กสร้างภาพความละเอียดสูง เนื้อเยื่ออ่อน และกระดูก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ใช้ตรวจว่าเกิดขึ้นจากสาเหตุอื่น