Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ป้องกันความเสี่ยงต่อการใช้ยา, =v - Coggle Diagram
ป้องกันความเสี่ยงต่อการใช้ยา
ยา คือสารที่สารหรือผลิตภัณฑ์ที่มีวัตถุประสงค์ในการใช้ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย หรือทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางทางการพยาธิวิทยา ซึ่งทำให้เกิดโรค ทั้งนี้เพื่อให้เกิดประโยชน์แก้ผู้รับยา
1.ในการรักษาโรคให้หายขาด ยาหลายชนิดที่ใช้ในการรักษาโรคหรืออาการเจ็บป่วย
2.การใช้ยาในการควบคุมหรือบรรเทาอาการ
3.การองกันใช้ในการป้องกันโรค
ประเภทของยา
1.ยาแผนปัจจุบัน
2.ยาแผนโบราณ
3.ยาอันตราย
4.ยาควบคุมพิเศษ
5.ยาใช้ภายนอก
ยาเฉพาะที่
7.ยาสามัญประจำบ้าน
8.ยาสมุนไพร
9.ยาบรรจุเสร็จ
อันตรายจากการใช้ยา
1.ผลข้างเขียงจากการใช้ยา
2.อันตรายจากพิษของยา
3.การแพ้ยา
4.การรับยาติดต่อกันเป็นเวลานาน
5.การดื้อยา
6.การติดยา
วิธีการใช้ยา
1.ใช้ยาให้ถูกโรค
2.ใช้ยาให้ถูกขนาด
3.ใช้ยาให้ถูกเวลา
4.ใช้ยาให้ถูกบุคคล
5.ใช้ยาให้ถูกทางและวิธี
ข้อควรปฏิบัติในการใช้ยา
ใช้ยาตามแพทย์สั่ง ไม่ควรเปลี่ยนแปลงขนาดรับประทานยาเอง และควรพบแพทย์ก่อนการหยุดยา
หลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลล์
ให้ทานยาพร้อมอาหารหรือนมเพื่อลดการระคายเคืองกระเพาะ
หลีกเลี่ยงการถูกแสงแดดโดยตรง สวมหมวกหรือเสื้อผ้าคลุม ใช้โลชั่นที่มีสารป้องกันแสง ไม่ใช้โคมไฟที่มีแสงคล้ายแสงอาทิตย์ เพราะอาจเพิ่มการแพ้ของผิวหนังต่อแสงแดดได้
อาจมีอาการปากแห้ง ให้ใช้หมากฝรั่งหรือลูกอมที่ไม่มีน้ำตาล ใช้น้ำแข็งหรือสารอื่นที่ใช้แทนน้ำลาย เพื่อลดอาการปากแห้ง หากมีอาการติดต่อกันนานกว่า 2 สัปดาห์ ให้ไปพบแพทย์หรือทันตแพทย์
ระวังเมื่อผ่าตัด รักษาเกี่ยวกับฟันหรือรักษากรณีฉุกเฉิน
อาจมีอาการง่วงนอน ให้ระวังการขับขี่ยวดยาน การทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร
การเปลี่ยนอิริยาบถจากท่านั่งหรือท่านอนเป็นท่ายืน ควรลุกขึ้นอย่างช้า ๆ เพื่อป้องกันไม่ให้ความดันตกขณะยืน ซึ่งจะทำให้เกดอาการมึนงง หน้ามืด เป็นลมได้
ควรปรึกษาแพทย์หากมีความจำเป็นต้องใช้ยาตัวอื่นร่วมด้วยขณะที่ใช้ยาตัวนี้ เนื่องจากยาตัวอื่นอาจมีผลต่อการรักษา
รูปแบบของยา
1.ยาเม็ด
2.ยาแคปซูล
3.ยาผง
4.ยาน้ำใส
5.ยาน้ำเชื่อม
6.ยาอิลิกเซอร์
7.ยาน้ำแขวนตะกอน
8.โลชั่น
9.ครีม
10.ยาขี้ผึ้ง
11.เจล
12.ยาเหน็บ