Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคลิ้นหัวใจ, ความดันโลหิตสูง (Hypertension), โรคหัวใจขาดเลือด,…
โรคลิ้นหัวใจ
โรคลิ้นหัวใจรั่ว
-
การตรวจหาลิ้นหัวใจรั่ว
การตรวโรคลิ้นหัวใจรั่วที่ให้ผลแม่นยำและเป็นมาตรฐาน จะตรวจโดยการใช้คลื่นเสียงสะท้อน หรือเครื่องอัลตราซาวด์ ส่วนใหญ่การตรวจแบบใช้เครื่องอัลตราซาวด์สามารถใช้เวลาเพียง 30 นาที ก็สามารถรู้ผลการตรวจหัวใจว่ามีความผิดปกติ หรือไม่ และสภาพการทำงานเป็นอย่างไร
-
คือ ภาวะที่ลิ้นหัวใจปิดไม่สนิท มีรูรั่วหรือขาด ส่งผลให้ประสิทธิภาพการไหลเวียนเลือดในหัวใจลดลงและหัวใจทำงานหนักขึ้น
โรคลิ้นหัวใจรั่ว จะแสดงอาการรุนแรงเมื่ออายุประมาณ 40 – 50 ปี ขึ้นไป ทำให้ผู้ป่วยเหนื่อย และอ่อนเพลียมากขึ้นเกือบๆ จะทุกการเคลื่อนไหว
ซึ่งบางรายก็อาจเสียชีวิตได้เนื่องจากการทำงานของหัวใจล้มเหลว
-
โรคลิ้นหัวใจตีบ
คือภาวะที่ลิ้นหัวใจเปิดและปิดได้ไม่สุด จึงทำให้เลือดออกจากห้องหัวใจยากขึ้น ทำให้เกิดความดันและปริมาณเลือดสะสมย้อนกลับไปสู่ห้องหัวใจและหลอดเลือด
สาเหตุ
-
โรคหัวใจรูห์มาติค (rheumatic heart disease) เริ่มต้นจากการติดเชื้อ streptococcus ในคอ พบบ่อยในเด็ก ร่างกายสร้างภูมิต้านทานขึ้นมาต่อต้านหัวใจตนเอง เกิดการอักเสบของลิ้นหัวใจ ผลที่ตามมาคือลิ้นหัวใจหนาตัวขึ้นมาก เกิดลิ้นหัวใจตีบ และรั่ว
ลิ้นหัวใจผิดปกติแต่กำเนิด (Congenital) : โรคหัวใจหรือภาวะหัวใจผิดปกติแต่กำเนิดมักจะเกิดขึ้นตั้งแต่อยู่ในครรภ์
หัวใจวายเฉียบพลัน (Acute Myocardial Infarction) เช่น โรคหัวขาดเลือดเฉียบพลันอาจทำให้เกิดผลกระทบกับลิ้นหัวใจ กล้ามเนื้อลิ้นหัวใจขาด เกิดภาวะลิ้นหัวใจรั่วเฉียบพลัน
การรักษา
การรักษาด้วยยา ตามอาการ เช่น ยาควบคุมปัสสาวะ ยาควบคุมการเต้นของหัวใจ ยาขยายหลอดเลือด และยาป้องกันการแข็งตัวของเลือด
-
-
-
โรคหัวใจขาดเลือด
โรคที่เกิดขึ้นเนื่องจากหลอดเลือดเลี้ยงหัวใจตีบหรือตัน
ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจมีเลือดไปเลี้ยงลดลงหรือไม่มีเลย
เป็นผลให้การทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจผิดปกติ
หากรุนแรงทำให้เกิดกล้ามเนื้อหัวใจตายได้
อาการ
เจ็บแน่นหน้าอก โดยเฉพาะอย่างยิ่งขณะออกแรง พักแล้วดีขึ้น
โดยจะรู้สึกแน่นๆ อึดอัด บริเวณกลางหน้าอก
หรือค่อนมาทางซ้าย เจ็บลึกๆ หายใจไม่สะดวก
อาจมีอาการอื่นๆ ร่วมด้วย เช่น คลื่นไส้ อาเจียน
เหงื่อแตก ใจสั่น หน้ามืด บางรายนอกจากแน่นหน้าอกแล้ว
ยังอาจเจ็บร้าวไปที่หัวไหล่ แขน หรือ คอ
สาเหตุ
-
โรคเบาหวาน, อ้วนและไม่ค่อยได้ออกกำลังกาย,
มีบุคลิกภาพเจ้าอารมณ์ โกรธ โมโหง่าย เครียดเป็นประจำ,
มีประวัติโรคหัวใจขาดเลือดของคนในครอบครัว
สูบบุหรี่,ไขมันในเลือดสูง,โรคความดันโลหิตสูง
การรักษา
-
การรักษาด้วยการใช้ยา
ยาเพื่อป้องกันการจับตัวของเกล็ดเลือดเข้ากับผนัง
ของหลอดเลือดแดง ซึ่งมีผลทำให้เกิดการทำลาย
ของผนังหลอดเลือด ทำให้หลอดเลือดตีบตันและอุดตันมากขึ้น
-
-
-
-
-
ภาวะหัวใจล้มเหลว
-
อาการ
เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย หน้ามืด ไตวาย
ซึ่งเป็นผลจากอวัยวะสำคัญขาดออกซิเจนเรื้อรัง
และอาการเหนื่อยจากภาวะน้ำท่วมปอด
นอนราบไม่ได้ หน้าบวม ขาบวม
-
การรักษา
-
ปรับควบคุมปริมาณน้ำในร่างกายโดยการคุมอาหาร
ปริมาณน้ำที่ดื่มในแต่ละวัน
และการปรับยาขับปัสสาวะอย่างเหมาะสม
-
-