Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ Pathophysiology of Respiratory System,…
ความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
Pathophysiology of Respiratory System
กายวิภาคระบบทางเดินหายใจ
ทางเดินหายใจส่วนบน(upper airway) โพรงจมูก คอหอย (phalynx) กล่องเสียง(larynx)
ทางเดินหายใจส่วนล่าง (Lower airway) : หลอดลม (trachea) หลอดลมเล็ก (bronchi) หลอดลมฝอย (bronchiole)และถุงลม (alveoli)
หน้าที่ของทางเดินหายใจส่วนบน
เป็นทางผ่านของอากาศสู่ ทางเดินหายใจส่วนล่าง
ป้องกันสิ่งแปลกปลอมเข้าสู่ ทางเดินหายใจส่วนล่าง
ปรับอุณหภูมิและกรองความชื้น
หน้าที่ของทางเดินหายใจส่วนล่าง
เป็นทางผ่านอากาศเข้าสู่ถุงลม
สร้างน้าเมือกดักจับสิ่งแปลกปลอม
สร้างสารเคลือบผิว(surfactant)ซึ่งบุอยู่บริเวณ alveolar cells ของปอดเพื่อไม่ให้ถุงลมแฟบขณะ หายใจออก
โครงสร้างของอวัยวะท่ีเก่ียวกับทางเดินหายใจ
ท่อทางเดินหายใจและปอด
Conducting zone เริ่มจาก trachea มาส้ินสุดที่ terminal
bronchiole
Respiratory zone เริ่มจาก respiratory bronchioleถึง Alveoli
กล้ามเน้ือหายใจ
กล้ามเนื้อหายใจเข้า
Diaphragm
External intercostal muscle
กล้ามเน้ือหายใจออก
Abdominal muscle เช่น external / internal oblique, rectus abdominis, transversus abdominis
Internal intercostal muscle
กลไกลการหายใจ
ขณะหายใจเข้า
กะบังลมจะเลื่อนต่าลงกระดูกซี่โครงจะเลื่อนสูงขึ้น ปริมาตรช่องอกเพิ่มมากขึ้น
ความดันอากาศภายในบริเวณรอบๆ ปอดลดต่ำลงกว่าอากาศภายนอก
อากาศภายนอกจึงเคลื่อนที่เข้าสู่ จมูก หลอดลม ไปยังถุงลมปอด
ขณะหายใจออก
กะบังลมจะเลื่อนสูงขึ้น กระดูกซี่โครงจะเลื่อนต่ำลง ปริมาตรของช่องอกลดน้อยลง
ความดันอากาศในบริเวณรอบๆ ปอดสูงกว่าอากาศภายนอก
อากาศในถุงลมปอดจึงเคลื่อนที่จาก ถุงลมปอดสู่หลอดลม ออกทางจมูก
การหายใจ กระบวนการแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ ระหว่าง ส่ิงแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต เพื่อใช้ในกระบวนการเมตาบอลิซึมของเซลล์เน้ือเยื่อ
การหายใจภายนอก (External respiration)
การขนส่งก๊าซ(Transportmechanism)
การหายใจภายใน (Internal respiration)
การระบายอากาศและการไหลเวียนเลือดผ่านปอด
ในการหายใจเข้าหรือออกครั้งหน่ึงๆร่างกายจะได้รับอากาศเข้าหรอืออกจากปอดเป็น ส่วนๆ ตามปริมาตรและความจุของปอด
Inspiratory reserve volume (IRV) คือปริมาตรของ
อากาศท่ี สามารถหายใจเข้าเพิ่มได้อีกจนเต็มที่ มีค่าประมาณ 3,300 ml
Expiratory reserve volume (ERV) คือปริมาตรของอากาศท่ี สามารถหายใจออกได้อกีจนเต็มที่ มีค่าประมาณ 1,000 ml
Tidalvolume(TV) คือ ปริมาตรอากาศ ในการหายใจ
เข้า -ออก มีค่าปกติประมาณ 500 ml
Residual volume (RV) คือปริมาตรของอากาศท่ียังคงเหลือค้างอยู่ในปอด ค่าประมาณ 1,200 ml
ความจุของปอด
Inspiratory capacity (IC) หายใจ เข้าไปได้เต็มที่
Functional residual capacity (FRC) อากาศ คงเหลืออยู่ในปอดหลังจากหายใจออกตามปกติ
Vital capacity (VC) ปริมาตรของอากาศหายใจออก ผลรวมของ IRV + TV + ERV
Total lung capacity (TLC) ปริมาตรของอากาศท้ังหมด
การแลกเปลี่ยนก๊าซ (Gas exchange)
การแลกเปลี่ยนก๊าซระดับปอด (Pulmonary gas exchange)
การแลกเปลี่ยนก๊าซระดับหลอดเลือดฝอย (Capillary gas exchange)
การแลกเปลี่ยนก๊าซระดับเซลล์ (Cellular gas exchange)
การแลกเปลี่ยนก๊าซระดับเซลล์ขนาดเล็ก (Subcellular gas exchange)
การแลกเปลี่ยนก๊าซระดับปอด (Gas exchange)
Ventilation “V” (การระบายอากาศ)
Diffusion (การซึมผ่านของก๊าซ)
Perfusion “Q” (การไหลเวียนของเลือด)
การตรวจสมรรถภาพปอด (Pulmonary Function Tests)
เป็นการตรวจที่สำคัญสำหรับการวินิจฉัย, ประเมินและติดตามผลการรักษา โรคระบบการหายใจ
เช่น โรคหืด, โรคปอดอุดก้ันเรื้อรัง, โรคปอดจากการทำงาน เป็นต้น
การประเมินสมรรถภาพการทางานของปอด (Pulmonary function test)
1.การประเมินสมรรถภาพของระบบการหายใจ (Pulmonary function test)โดยใช้มาตรวัดปริมาตรอากาศหายใจเขา้และออก
การประเมินก๊าซในหลอดเลือดแดง (Arterial blood gas)
การตรวจ Arterial blood gas
PaO2 (Oxygenation ค่า 80 - 100 มิลลิเมตรปรอท ) บอกปริมาณออกซิเจนในเม็ดเลือดแดง
SaO2 ( ค่า 98 – 100 %) บอกออกซิเจนและความเข้มข้นของออกซิเจนในเม็ดเลือดแดง
PaCO2 ( Ventilation function : บอกหน้าท่ีการทำงานของปอด = 35-45)
HCO3 ( Metabolic function = 22-26)
Baseexcess(BE±2.5)ยนืยนัความเป็นกรด-ด่าง
ขั้นตอนการวิเคราะห์ค่า Arterial Blood Gas : ABG
ขั้นที่ 1 ดูค่า pH (บอกค่า acid-base status)
หากค่า pH < 7.35 = acidosis , pH > 7.45 = alkalosis
ขั้นที่ 2 ดูค่า PaCO2 (บอกความผิดปกติของ Respiratory system)
หากค่า PaCO2 > 45 mmHg. = acidosis,
PaCO2 < 35 mmHg. = alkalosis
ขั้นท่ี 3 ดูค่า HCO3- (บอกความผิดปกติของ Metabolism system)
หากค่า HCO3- > 26 = alkalosis , HCO3- < 22 = acidosis
ขั้นที่ 4 พิจารณาการชดเชย
ขั้นที่ 5 ประเมินภาวะพร่องออกซิเจน ให้ดูจากค่า PaO2
ความผิดปกติของการหายใจ
Restrictive pulmonary function ภาวะท่ีการขยายตัวของปอดถูกจากัด
ความผิดปกติของปอด เนื่องจากการขยายตัว (Expansion) ของปอดถูก จากัด ทาให้ TLC และ VC ลดลง มีผลให้หายใจเข้าลาบาก แต่แรงต้านการ ไหลของอากาศปกติ
สาเหตุ
มีการเปลี่ยนแปลงของเน้ือปอด (parenchymal)
โรคของเยื่อหุ้มปอด
มีปัญหาของ Chest Wall
ภาวะที่การขยายตัวของปอดถูกจากัด ที่พบบ่อย
Atelectasis, Pulmonary fibrosis, Pulmonary edema, Pneumothorax, Pleural effusion or Hydrothorax, Pleurisy (Pleuritis), Abscess formation and cavitation
Atelectasis
การขยายตัว (Expansion) ของปอดไม่สมบูรณ์ หรือภาวะปอดแฟบ ไม่มีอากาศใน Alveoli
Pulmonary edema มีการสะสมของของเหลวในเนื้อเยื่อปอดคือinterstitialและ alveoli พยาธิวิทยาของ Pneumonia แบ่งเป็น 2 ระยะ
ระยะแรก Interstitial edema มีการสะสมของของเหลว ใน
peribronchial และ perivascular space
ระยะท่ีสอง Alveolar Edema เมื่อ Interstitial hydrostatic pressure สูงมากๆ ของเหลวจะเข้าไปใน alveolar
Pneumothorax
ภาวะท่ีมีลมเข้าไปใน pleural space ซึ่งมีผลให้ปอดแฟบ
Pleural effusion or Hydrothorax
ภาวะท่ีมีการสะสมของเหลวในเยื่อหุ้มปอด ถ้าของเหลวนั้นเป็นหนองเรียกว่า empyema แต่ถ้าเป็นเลือดเรียกว่า hemothorax
การใส่สายระบายทรวงอก (Chest tube insertion)
การใส่สายระบายทรวงอก intercostal drainage; ICD)
คือการใส่สายเข้าไปยังช่องเย่ือหุ้มปอด (pleural cavity) - เพื่อระบายลม น้ำ หนอง หรือเลือด รักษาพยาธิสภาพของ ช่องเยื่อหุ้มปอด
Pleurisy (pleuritis)
ภาวะที่มีการอักเสบของเยื่อหุ้มปอด
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน
พยาธิสรีรวิทยา
เมื่อมีการอักเสบของเยี่ยหุ้มปอดจะทำให้อย่าพึ่งปอดมีลักษณะแดงและมีการสะสมของน้ำเหลือง fibrin และอาจมีpleural effusion ตามมาได้
Lung abscess
Abscess formation and Cavitation
Abscess คือภาวะที่ปอดมีการอักเสบเป็นหนอง (Abscess) และมีการทำลายเนื้อเยื่อปอด (lung parenchyma)
Cavitation คือกระบวนการทาลายเน้ือเยื่อปอดบริเวณท่ีมีการอักเสบกลายเป็น โพรง (Cavity)
Chest wall restriction
ภาวะที่มีผนังทรวงอกเคลื่อนไหวได้น้อยหรือไม่มกีารเคลื่อนไหว
พยาธิสรีรวิทยา
มีการเปลี่ยนแปลงของการระบายอากาศซึ่งความรุนแรงขึ้นอยู่กับความผิดปกติของผนังทรวงอกมีการติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจส่วนล่างไปให้
หลักการพยาบาล Restrictive pulmonary function
แก้ไขตามสาเหตุของภาวะนั้นๆ
การแก้ไขภาวะของ Hypoxemia
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
คาแนะนาในการปฏิบัติเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่างๆ
การขับเสมหะในทางเดินหายใจ
การหายใจอย่างถูกวิธีและการไออย่างมี ประสิทธิภาพ
การดูดเสมหะโดยใช้ลูกยางแดง
การดูดเสมหะด้วยสายดูดเสมหะ ได้แก่
Nasopharyngeal and Oropharyngeal Suctioning
Endotracheal and tracheostomy Suctioning
Obstructive pulmonary function
ภาวะที่มีการอุดกั้นของทางเดินหายใจ
มีผลให้แรงต้านทานการไหลของอากาศหายใจ (resistance airway)สูงข้ึน มีการอุดกั้นของหลอดลมทำให้การหายใจออกลาบาก กลุ่มนี้จะตรวจพบค่า FEV1 / FVC ต่ำกว่า 70 % โดยค่า FVC จะปกติ เช่น ในผู้ที่เป็นโรคหืด โรคถุงลมโป่งพองจากการสูบบุหรี่ โรคหลอดลมอักเสบ เรื้อรัง
กลุ่มท่ีรูท่อทางเดินหายใจอุดตัน
ภายในของรูท่อทางเดินหายใจอุดตันเนื่องจากการมีสิ่งแปลกปลอม เสมหะ จำนวนมาก หรือการสาลักน้าหรือสารบางอย่างเข้าไปในรูท่อทางเดินหายใจ
ทำให้ตีบหรือแคบ ซึ่งจะมีผลต่อการไหลของอากาศหายใจ
สาเหตุ
ติดเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส และอื่นๆ
การระคายเคืองจากสารพิษ
การสาลักสิ่งแปลกปลอมเข้าไปในหลอดลม
การได้รับบาดเจ็บต่อท่อทางเดินหายใจ
การสูบบุหรี่
เน้ืองอก
ต่อมน้าเหลืองโตเบียดท่าทางเดินหายใจ
พยาธิสรีระวิทยา เมื่อมีการระคายเคืองหรือติดเชื้อทางเดินหายใจบ่อยๆ ทำให้ผนังหลอดลมอักเสบ บวม มีหนอง เสมหะมากขึ้น การทำหน้าที่ของ cilia ผิดปกติ ความสามารถในการขจัดส่ิงแปลกปลอม
ลดลง
กลุ่มผนังท่อทางเดินหายใจบวมหรือหดตัว
ผนังท่อทางเดินหายใจบวมหรือหดตัว ทาให้เกิดภาวะอุดกั้นของทาง เดินหายใจได้
โรคหลอดลมโป่งพอง Bronchiectasis
เป็นภาวะท่ีหลอดลมเสียหายอย่างถาวร ส่งผลให้มีเชื้อแบคทีเรียและสารคัดหลั่งสะสมภายในปอด
ทำให้ผู้ป่วยเสี่ยงติดเชื้อและเกิดการอดุ ตัน
ของทางเดินหายใจ
กลุ่มท่ีมีแรงดันบริเวณรอบๆ นอกท่อทางเดินหายใจ
เป็นสาเหตุทาให้เกิดการอุดก้ันทางเดินหายใจ เนื่องจากมีการสูญเสีย แรงตึงตัวของผนังถุงลม(alveolar)
ถุงลมโป่งพอง (emphysema)
Chronic Obstructive pulmonary Disease (COPD)
หลักการพยาบาล Obstructive pulmonary function
รักษาทางเดินหายใจให้โ ล่ง
การแกไ้ ขภาวะของ Hypoxemia
แนะนาภาวะโภชนาการ
แนะนาการปฏิบัต้ตนให้หลีกเลี่ยงสาเหตุนำต่างๆ
ภาวะการหายใจล้มเหลว (Respiratory failure)
การที่ระบบหายใจไม่สามารถทำหน้าที่ระบายอากาศ และแลกเปลี่ยนก็าซได้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
O2 ในเลือดแดง (Pa O2) ต่ากว่าปกติ < 50-60 mmHg
CO2 ในเลือดแดง (Pa CO2) สูงกว่าปกติ >50 mmHg
ร่างกายมีความเป็นกรดมากข้ึน< 7.25
Acute respiratory failure การหายใจล้มเหลวอย่างเฉียบพลัน
Chronic respiratory failure การหายใจล้มเหลวอย่างเรื้อรัง
สาเหตุ Respiratory failure
ความผิดปกติท่ีปอด
-ความผิดปกติที่ช่องทรวงอกและเยื่ออหุ้มปอด
ความผิดปกติท่ีระบบประสาทส่วนกลาง
ความผิดปกติของระบบประสาทและกล้ามเน้ือ
ความผิดปกติของระบบหัวใจและหลอดเลือด
พยาธิสรีรวิทยา Respiratory failure
การระบายอากาศน้อย (alveolar hypoventilation)
การระบายอากาศกับการไหลเวียนของเลือดไม่สมดุลกัน(V/Q)Mismatch
การลัด (right to left shunt)
การสูญเสียการซึมซ่านของก๊าซ(diffusionimpairment)
การวินิจฉัย
อาการและอาการแสดงของภาวะการหายใจล้มเหลว
Arterial Blood Gas
Chest X-ray (CXR)
หลักการรักษาพยาบาลภาวะหายใจล้มเหลว
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
การให้ออกซิเจนแก้ไขภาวะ Hypoxemia
รักษาสาเหตุที่ทาให้เกิดภาวะหายใจล้มเหลว
ตัวอย่างการใช้ Tri flow
นางสาวศศิวิมล จอมทิพย์
UDA6380058