Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
image - Coggle Diagram
พยาฺธิสภาพสรีรภาพของภาวะผิดปกติระบบหัวใจและหลอดเลือด
กายวิภาคปกติของหัวใจและหลอดเลือดแดงใหญ่ภาคปกติของหัวใจและหลอดเลือดแดงใหญ่
ภาพหัวใจปกติและหลอดเลือดแดงใหญ่ aorta
AcA = Ascending aorta
– AoA = Aortic arch
– PT = Pulmonary trunk
– DA = Descending aorta
– RA = Right atrium
– LA = Left atrium
– RV = Right ventricle
LV = Left ventricle
– RCA = Right coronary artery
– LCA = Left coronary artery
ลิ้นหัวใจsemilunar valve (aortic และ pulmonary valve)
Ao = Aortic root
– C = Cusp of valve
– SV = Sinus of Vulsava
– OC = Opening of Coronary artery ( ) at aorta valve)
ลิ้นหัวใจAtrioventricular valve (tricuspid และ mitral valve)
– VL = Valve leaflet
– PM = Papillary muscle
– CT = Cordae tendineae
วิธีการประเมินการทำงานของหัวใจ
การฟังเสียงหัวใจ
การจับชีพจร
การวัดความดันโลหิต
อวัยวะที่ได้รับผลกระทบมากที่สุด คือ หัวใจ สมอง ไต ลำไส้ และ lower extremities
ซึ่งเกิดพยาธิสภาพ ดังนี้
Abdominal aorta/Terminal aorta
: เลือดไปเลี้ยงส่วนของ lower extremities น้อยลง
อาจจะพบ gangrene ที่นิ้วหัวแม่เท้า
Coronary artery
: Angina pectoris , Myocardial infarction
Carotid และ Vertebral artery
CVA หรือ Stroke
Renal artery
Hypertension Renal ischemia
Mesenteric artery
Intestinal Ischemia ,Peritonitis
ภาวะความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตตัวบน( Systolic Pressure )สูงกว่า 140 มิลลิเมตรปรอท
ความดันโลหิตตัวล่าง( diastolic Pressure )สูงกว่า 90 มิลลิเมตรปรอท
โรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูง คือ ภาวะที่แรงดันของเลือดที่มีต่อผนังเลือดสูงพอ
ที่อาจจะทำให้เกิดโรคหัวใจต่างๆ ได้ในระยะยาว ความดันโลหิตแปรผันด้วย 2 ปัจจัย ได้แก่
ถ้าเส้นเลือดแคบลง จะทำให้เกิดแรงต้านการไหลเวียนของเลือด เหมือนกับแรงดันในระบบการจ่ายน้ำในบ้านเรา ถ้าเราไม่ทำความสะอาดท่อ ปริมาณตะกอนยิ่งมากขึ้น ทำให้ท่อแคบลงและเพิ่มแรงต้านการไหลเวียนของเลือดจนทำให้ความดันสูงขึ้น
อาการของโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งบางคนที่เป็นความดันโลหิตสูงอยู่หลายปี อาจไม่มีอาการใดๆ
จนเกิดภาวะแทรกซ้อนที่ร้ายแรง
เช่น หัวใจวายหรือโรคหลอดเลือดสมอง
ในบางรายอาจมีอาการปวดหัว เลือดกำเดาไหล หายใจไม่ทัน
ซึ่งอาการเหล่านี้จะมีก็ต่อเมื่อมีความดันสูงมากจนอยู่ในเกณฑ์อันตรายและอาจเสียชีวิตได้
สาเหตุของโรคความดันโลหิตสูง ความดันโลหิตสูงที่อยู่ 2 แบบได้แก่ primary hypertension คือ
ความดันโลหิตสูงที่เกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติจะพบในเวลาที่เราแก่ตัวลงและ secondary hypertension
คือ ความดันโลหิตสูงที่เกิดจากโรคอื่นๆ หรือผลข้างเคียงของการใช้ยา หรือการใช้ยาเสพติด สำหรับคนที่ตกอยู่ในประเภทนี้ อาจจะมีความดันโลหิตสูงขึ้นอย่างเฉียบพลัน
การรักษาโรคความดันโลหิตสูง วัตถุประสงค์เพื่อควบคุมความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ การรักษาโรคความดันโลหิตสูงสามารถแบ่งได้ 2 วิธี ได้แก่
การรักษาโดยไม่ใช้ยา คือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการดำรงชีวิต เช่น ลดอาหารเค็ม ออกกำลังกายสม่ำเสมอ เลิกสูบบุหรี่ ควบคุมปริมาณแอลกอฮอล์ ควบคุมน้ำหนัก การรักษาโดยการใช้ยา การรักษาความดันโลหิตสูงโดยการใช้ยาจะช่วยลดโรคแทรกซ้อนที่เกิดจากความดันโลหิตสูงได้ โดยคนไข้แต่ละคนจะตอบสนองต่อยาชนิดต่างๆ ไม่เหมือนกัน ซึ่งแพทย์จะปรับยาให้เหมาะสมกับคนไข้แต่ละคน
ปัจจัยเสี่ยงของโรคความดันโลหิตสูง
อายุ : ความดันโลหิตยิ่งสูง ถ้าอายุมากโดยเฉพาะในผู้ชาย พันธุกรรม : ผู้ที่มีบิดาและมารดา เป็นโรคความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มสูงที่จะเกิดโรคความดันสูง น้ำหนักเกินหรืออ้วน : สัมพันธ์กับอัตราการเกิดความดันโลหิตสูงที่เพิ่มสูงขึ้น
การสูบบุหรี่ : การสูบบุหรี่ทำให้ความดันเลือดสูงขึ้นทันทีและสามารถไปทำร้ายผนังเส้นเลือดจนทำให้ผนังเล็กลง เกลือโซเดียม โพแทสเซียม วิตามินดี : โซเดียม มีหน้าที่กักน้ำไว้ในร่างกายถ้ามีปริมาณน้ำมากเกินจะทำให้มีความดันสูง ควรควบคุมให้อยู่ในปริมาณที่เหมาะสม ส่วนปริมาณวิตามินดีจะส่งผลต่อเอนไซม์ในไตที่ควบคุมความดันโลหิต แอลกอฮอล์ : การดื่มแอลกอฮอล์หนักๆ ในระยะยาว อาจทำให้หัวใจมีปัญหา ผู้ชายควรดื่มไม่เกิน2 แก้วต่อวัน ผู้หญิงไม่เกิน 1 แก้ว ต่อวัน