Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะ heart failure - Coggle Diagram
ภาวะ heart failure
พยาธิสภาพ
- หัวใจขยายโต มีพยาธิสภาพที่กลา้มเนื้อหวัใจ ปริมาณเลือดคั่ง และแรงดัน เลือดสูงมากกว่า
ปกติ จังหวะการเต้นของหัวใจผิดปกติ chest x –ray จะพบหัวใจขยายโตชัดเจน
- หัวใจเต้น เร็วเป็นกลไกการชดเชยเพื่อเพิ่มปริมาณเลือดที่สูบฉีดไปให้เพียงพอกบัความตอ้งการ ของเนื้อเยื่อร่างกายผลจากหัวใจสูบเลือดไปเลี้ยงร่างกายส่วนปลายไม่พอ ทำให้ชีพจรปลายมือ ปลายเท้า จะเบาลง แขนขาเย็น ชื้น ผิวหนังเป็นสีเทาๆ หรือซีด
- ระบบหายใจจะทำงานหนัก ปอดบวมน้า มีหายใจเร็วหรือขัด ฟังปอดได้ยินเสียง crepitation หอบ ไอเรื้อรัง ปอดบวมบ่อยๆ ถ้ามีอาการมากขึ้น จะเกิดหายใจขัด ปีกจมูกบานและเขียวได้ หัวใจเต้นแรง เหนื่อยง่าย เด็กเล็กจะหายใจแรง ขณะดูดนม และใชเ้วลาดูดนมนานกว่า จะหมดขวด อาจสำลักหรืออาเจียน
ได้
- เหงื่อออก บ่งบอกวา่ มีอตัราเพิ่มของการเผาผลาญ และเพิ่มการทำ งานของระบบประสาทอัตโนมัติส่งผลให้หัวใจทำงานเพิ่มขึ้นและหัวใจวายได้
- ปัสสาวะน้อยลง บวม เลือดไปเลี้ยงไตได้น้อย เส้นเลือดตีบแคบ น้า และเกลือคั่ง ทำใหนํ้าหนักเพิ่มขึ้น หนังตาบวม หน้าบวม มือและเท้าบวม หรือบวมทั้งตัว
- ตับโต เลือดคั่ง ในตับ หัวใจซีกขวามีแรงดัน เลือดสูง จะเห็นเส้นเลือดดำ ที่คอโป่งตึง
- การเจริญเติบโตชะลอลง หรือล้มเหลว เลี้ยงไม่โต เนื่องจากมีปัญหาในการดูดนม เด็กมีการเผาผลาญเพิ่มขึ้น
- ความทนทานในการทำ กิจกรรมลดลง เด็กจะหลับเป็นส่วนใหญ่
- อาการทั่ว ๆไป จะร้องกวน หงุดหงิด ชอบให้อุ้ม เหงื่อมาก ตัวเล็กไม่สมวัยเมื่อสอบถามประวัติของเด็กที่ป่วยเป็นโรคหัวใจ
กิจกรรมการพยาบาล
ให้พักผ่อน โดยเฉพาะจัดให้นอน Fowler’s position โดยให้ศีรษะสูง 30 องศา หรือในเด็กเล็กให้นอนใน cardiac chair เพื่อลดการทำ งานของหัวใจและเนื้อเยื่อต่างๆ ลดความต้องการออกซิเจน
ให้ยาขับปัสสาวะลดปริมาณของเหลวในร่างกาย ป้องกันการเกิดปอดบวมนํ้า และนํ้าคั่งในร่างกายส่วนอื่นๆ ผลข้างเคียงของยาคือ HypokalemiaและMetabolic acidosis
-
จำกัดนํ้าดื่มและนํ้าเข้าสู่ร่างกายทุกทางเพื่อลดเลือดที่จะไหลเวียนเข้าสู่หัวใจและเป็นการลดความต้องการออกซิเจนของหัวใจ
check serum electrolyte เพราะยาขับปัสสาวะทำให้เกิด
โปตัสเซียมและคลอไรด์ตํ่า และบอกถึงภาวะ Digitalis intoxication
ให้ยา Digitalis เพื่อเป็นการเพิ่มแรงบีบของกล้ามเนื้อหัวใจ ทำให้ cardiac output เพิ่มขึ้น เลือดไปสู่ไตเพิ่มขึ้น ทำให้ขับของเสียออกได้ง่าย ปริมาตรของเลือดลดลงได้
การประเมินสภาพ
การซักประวัติผู้ป่วยอย่างละเอียด เช่น ปัจจัยเสี่ยงหรือโรคที่อาจเป็นสาเหตุของภาวะหัวใจล้มเหลว ประวัติการเป็นโรคหัวใจในอดีต ประวัติโรคหัวใจในครอบครัว เป็นต้น
-
-
-
การรักษา
การใช้เครื่องกระตุกหัวใจอัตโนมัติชนิดฝังในร่างกาย การใช้เครื่องกระตุ้นหัวใจถาวรชนิดที่ทำให้หัวใจห้องล่างซ้ายและขวาบีบตัวพร้อมกัน ร่วมหรือไม่ร่วมกับเครื่องกระตุกหัวใจอัตโนมัติชนิดฝังในร่างกาย
-
การรักษาด้วยยา เช่น ยาขับปัสสาวะ ยาลดความดันโลหิต ยาเพิ่มการบีบตัวของหัวใจ ยากลุ่มลดการกระตุ้นระบบนิวโรฮอร์โมน ยาขยายหลอดเลือด ยาต้านเกล็ดเลือด ยาต้านภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ เป็นต้น
-
อาการและอาการแสดง
เด็กทารกจะหายใจแรงและเร็วกว่าเด็กปกติอื่นๆ ดื่มนมได้น้อยเหนื่อยมากขึ้นเวลาดื่มนํ้าหนักขึ้นน้อยเลี้ยงไม่ค่อยโต มีประวัติติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนล่างบ่อยๆ
เด็กโต จะพบว่า เหนื่อยง่ายเหนื่อยเวลาเล่น เล่นไม่ได้เท่าเพื่อน functional class เลวลง บวมบริเวณขา บางรายอาจมีท้องโต (จากภาวะ ascities) ต้องนอนหนุนหมอนสูง(Orthopnea) ลุกขึ้นมาหอบเหนื่อยตอนกลางคืน (Paroxysmal nocturnal dyspnea)