Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปองค์ความรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑-๖ - Coggle Diagram
สรุปองค์ความรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑-๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ แนวคิด หลัการ และแนวคิดปฏิบัติ
ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
การรวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นองค์ประกอบสำคัญของการจัดการศึกษาโดยเฉพาะกระบวนการเรียนการสอน เพื่อให้ได้สารสรเทศในการปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอน หรือการตัดสินผลการเรียนของผู้เรียน
๒. องค์ประกอบของการวัดและการประเมินผล
๒.๑ องค์ประกอบการวัด
เครื่องมือวัดหรือเทคนิค
ข้อมูลที่ได้จากการวัด
ปัญหาหรือสิ่งที่จะวัด
๒.๒ องค์ประกอบของการประเมิน
เกณฑ์
การตัดสินคุณค่าหรือการตัดสินใจ
ข้อมูล (ที่ได้จากการวัด)
๓. ความสัมพันธ์ระหว่างการวัดและประเมินผลกับกระบวนการเรียนการสอน
การประเมินแบบ Evaluation
การตัดสินผู้เรียนจากพฤติกรรมทางการศึกษาใช้การวัดเทียบกับเกณฑ์หรือมาตรฐานทางการศึกษา
การประเมินแบบ Assessment
กระบวนการในการรวบรวมข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับผู้เรียนอย่างเป็นระบบ
องค์ประกอบของการเรียนการสอน
กิจกรรมการเรียนการสอน (Learning Experience)
การวัดและประเมินผล (Evaluation)
จุดประสงค์การเรียนรู้ (Learning Objectives)
๑. คาวมหมายของการวัดผล การทดสอบและการประเมินผล
การทดสอบ = เทคนิคที่ใช้การวัดผลทางการศึกษา
การประเมินผล = การตัดสินคุณค่าหรือคุณภาพของผลที่ได้จาการวัดโดยการเปรียบเทียบกับผลการวัดอื่น ๆ
การวัดผล = กระบวนการกำหนดจัวเลขหรือสัญลักษณ์ให้กับสิ่งต่าง ๆ
ที่ต้องการวัดโดยใช้เครื่องมืออย่างใดอย่างหนึ่งมาวัด
การวัดผลสังคมศาสตร์ (พฤติกรรม)
การวัดผลวิทยาศาตร์ (ตัวเลข)
๔. จุดมุ่งหมายของการวัดผลการศึกษา
จัดอันดับหรือตำแหน่ง
วินิฉัย
เปรียบเทียบหรือทำให้ทราบพัฒนาการของผู้เรียน
พยากรณ์
ค้นหาและพัฒนาสมรรถภาพของผู้เรียน
ประเมิน
๕. ธรรมชาติของการศึกษา
การวัดผลการศึกษาเป็นการวัดที่เป็นนามธรรม
๖. มาตราฐานการวัด
ข้อมูลที่ได้จาการวัดทางการศึกษาจำเป็นต้องมีการจัดกระทำและนำมาเปรียบกับเกณฑ์ เพื่อประเมินหรือตัดสินคุณค่า
๗. ขอบข่ายในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
หลัการในการวัดผลการศึกษา
กระบวนการวัดและประเมินผลทางการศึกษา
๙. การประโยชน์ของการประเมินผลการศึกษา
ผู้เรียนทราบถึงระดับความสามารถของตนเอง มีแรงจูงใจในการเรียนมากขึ้น
ประเมินประสิทธิภาพของการเรียนการสอน
ช่วยให้ครูกำหนดหรือปรับปรุงจุดมุ่งหมายของการสอนให้ชัดเจนยิ่งขึ้น
เป็นประโยชน์ต่อผ฿้บริหารสถานศึกษาในการบริหารจัดการโรงเรียน
ครูได้ข้อมูลพฤติกรรมของผู้เรียนเบื้องต้น
ก่อนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
๘. การกำหนดวัตถุประสงค์ในการประเมินและสิ่งที่จะประเมิน
ประเภทของการประเมินผล
ตามระบบการวัดผล
ตามวัตถุประสงค์ของการประเมิน
การกำหนดสิ่งที่จะประเมิน
การกำหนดที่จะประเมินให้ชัดเจน
นำไปสู่การเลือกเครื่องมือที่จะใช้ในการวัด
การจัดกระทำกับข้อมูล
การตัดสินคุณค่าตามมมาลำดับสุดท้าย
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ พฤติกรรมทางการศึกษา
พฤติกรรมการศึกษา เป็นคุณลักษณะของผู้เรียนที่เกิดจากการเรียนรู้ โดยผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
๒. คุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
๒.๒ จุดมุ่งหมาย
๒.๔ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒.๓ สมรรถนะสำคัญของนักเรียน
๒.๕ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
๒.๑ วิสัยทัศน์
๒.๖ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
การจัดพฤติกรรมใหม่ ยึดแนวทางบลูม
๒. กลุ่มพฤติกรรมด้านเจตคติ (Attitude : A)
เป็นพฤติกรรมทางจิตใจ เช่น ความรู้สึก ความคิดเห็น ความเชื่อ ค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม ฯลฯ
๓. กลุ่มพฤติกรรมด้านกระบวนการเรียน (Process : P)
เป็นพฤติกรรมใน การใช้สติปัญญาในการคิดแก้ปัญหา แสวงหาความรู้ รวมถึงทักษะการปฏิบัติงานหรือกิจกรรม
๑. กลุ่มพฤติกรรมด้านความรู้ (Knowledge : K)
เป็นพฤติกรรมของสมอง ในการจำและเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องราว เหตุการณ์ ศัพท์ สัญลักษณะ เนื้อหาความรู้ สูตร กฎ ทฤษฎี ขั้นตอน วิธีการ ฯลฯ
๑. การจำแนกพฤติกรรมทางการศึกษา
การศึกษาพฤติกรรมการเรียนรู้แล้วจัดกลุ่มได้ ๓ หมวดหมู่ เรียกว่า จุดมุ่งหมายทางการศึกษา
๑.๒ พฤติกรรมด้านจิตพิสัย
ความรู้สึกนึกคิด หรือความรู้สึกทางใจ
ขั้นเห็นคุณค่า
ขั้นจัดระบบค่านิยม
ขั้นตอบสนอง
ขั้นสร้างลักษณะนิสัยจากค่านิยม
ขั้นรับรู้
๑.๓ พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย เกิดจาการใช้กล้ามเนื้อ และประสาทสัมผัส หรือพฤติกรรมจากการได้ลงมือปฏิบัติจริง
การปฏิบัติได้ด้วยตนเอง
การตอบสนองที่ซับซ้อน
การตอบสนองตามแนวชี้แนะ
การดัดแปลง
การเตรียมความพร้อม
การริเริ่ม
การรับรู้
๑.๑ พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
เกิดจากการใช้สมองหรือสติปัญญา
การนำไปใช้
การวิเคราะห์
ความเข้าใจ
การสังเคราะห์
ความรู้
การประเมินค่า
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ การประเมินตามสภาพจริง
การประเมินตามสภาพจริง เป็นกระบวนการรวบรวมหลักฐานข้อมูล
เชิงประจักษ์ต่าง ๆ ตามสภาพจริง เกี่ยวกับการเรียนรู้ของผู้เรียน
เพื่อระบุและวินิจฉัยปัญหาการเรียนรู้และให้ข้อติชมที่มีคุณภาพแก่ผู้เรียน เพื่อปรับปรุงการเรียนรู้ให้ดีขึ้น
๑. การจัดการเรียนการสอนแบบเดิม
การจัดการเรียนการสอน คือ การถ่ายทอดความรู้จาก
ผู้สอนไปสู้ผู้เรียน ผ่านกระบวนการสอนที่มุ่งเน้นเนื้อหาวิชาเป็นหลักผู้เรียนมีหน้าที่รับฟังและจดจำในสิ่งที่บอกเท่านั้น "ข้อสอบ" เป็นเครื่องมือในการวัด
๔. กิจกรรมการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ผู้สอนควรเลือกเนื้อหาที่เหมาะสมกับผู้เรียน
เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้ครบ ๓ ด้าน
จิตพิสัย
ทักษะพิสัย
พุทธิพิสัย
๓. ตัวบ่งชี้ลักษณธการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
แนวทางการปฏิรูปการศึกษาใน ๕ แนวทาง
การเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
การเรียนรุ้เพื่อพัฒนาสุนทรียภาพ
การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
ลักษะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรี กีฬา
การเรียนรู้อย่างมีความสุข
๒. การจัดการเรียนการสอนแบบใหม่
ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ การเปลี่ยนแปลงของข้อมูลข่าวสาร
อย่างรวดเร็วในกระแสโลกาวิวัตน์บนฐานความเจริญทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สังคมไร้พรมแดนมีวิทยาการใหม่ ๆ และองค์ความรุ้ต่าง ๆ
มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
กระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน มี ๒ คุุณลักษณะ
เน้นกระบวนการคิด กระบวนการเรียนรู้ มากกว่าเนื้อหาและผู้สอน
เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง
๕. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง
การพัฒนาผู้เรียนให้เต็มศักยภาพที่มีด้วยการใช้กิจกรรมการเรียนรู้การเรียนการสอนที่หลากหลาย การวัดปละประเมินผลควรจะใช้ให้ครบ ๓ ด้าน คือ ด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย ไม่ใช้แค่ "ข้อสอบ" เป็นเครื่องมือการวัดและประเมินผลเพียงอย่างเดียว
คุณลักษณะของการประเมินตามสภาพจริง
การวัดและประเมินผลโดยตนเอง (ผู้เรียน) เป็นสำคัญ
การบูรณาการการเรียนรู้ทุกด้านเข้าด้วยกัน
วิธีการประเมินที่หลากหลาย
ครูเป็นส่วนหนึ่งของระบบประเมิน
ใช้กระบวนการของสหวิทยาการ
วิธีคิดและคำตอบที่แตกต่างกัน
ประโยชน์ของการประเมินผลตามสภาพจริง
ทำให้ผู้เรียนได้ข้อมูลย้อนกลับที่เป็นประโยชน์แก่การพัฒนาตนเอง
เกิดการบูรณาการสอน การเรียนรู้ และการประเมินในบริบทสังคมและชุมชน
การประเมินความสามารถในการลงมือปฏิบัติ นำไปสู่การพัฒนาพลเมืองที่สร้างสรรค์ และรับผิดชอบต่อสังคมและส่วนรวม
ความหมายของการวัดและประเมินตามสภาพจริง
การประเมินจากการปฏิบัติงานหรือกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง
โดยงานหรือกิจกรรมที่มอบหมายให้ผู้ปฏิบัติ
การประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียนจากพฤติกรรม กระบวนการทำงานในบริบทของการเรียนการสอนตามบริบทสังคมและชุมขนของผู้เรียน
การประเมินที่ใช้วิธีการและเณฑ์ที่หลกหลาย โดยให้ผู้เรียนได้ ทำกิจกรรมหรือ สร้างผลงานออกมาเพื่อแสดงความสามารถ
เครื่องมือในการประเมินตามสภาพจริง
การสอบถาม
การทดสอบ
การสัมภาษณ์
แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio)
การสังเกต
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เครื่องมือที่ใช้ใน
การวัดผลในศตวรรษที่ ๒๑
การวัดและการประเมินผลสภาพที่แท้จริงของนักเรียนเป็นพื้นฐานของเหตุการณ์ในชีวิตประจำวันยึดการปฏิบัติเป็นสำคัญและสัมพันธ์กับการเรียนการสอนเน้นพัฒนาการที่ปรากฏให้เห็นผู้เกี่ยวข้องในการประเมินมีอยู่หลายฝ่ายและเกิดขึ้นในทุกบริบททั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียนหรือนอกสถานที่
จุดเน้นการวัดและประเมินทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
๑. สร้างความสมดุลย์ในการประเมินผลเชิงคุณภาพ
๒. เน้นการนำประโยชน์ของผลสะท้อนจากการปฏิบัติของผู้เรียนมาปรับปรุงแก้ไขงาน
๓. ใช้เทคโนโลยีเพื่อยกระดับการทดสอบวัดและประเมินผลให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
๔. สร้างและพัฒนาระบบแฟ้มสะสมผลงานของผู้เรียนให้เป็นมาตรฐานและมีคุณภาพ
กรอบแนวคิดในการจัดการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ ๒๑
การบูรณาการทักษะเข้าในการสอนเนื้อหาหลักด้านวิชาการเครือข่าย P21 ได้พัฒนาวิสัยทัศน์การเรียนรู้เป็นกรอบความคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ โดยผสมผสานองค์ความรู้ทักษะเฉพาะด้านความชำนาญการและความรู้เท่าทันในด้านต่าง ๆ เข้าด้วยกัน
เน้นองค์ความรู้ทักษะความเชี่ยวชาญและสมรรถภาพที่เกิดขึ้นกับตัวผู้เรียน
3R
เขีนยได้
คิดเลขเป็น
อ่านออก
7C
๑ ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิตจารณาญาณและทักษะในการแก้ปัญหา
๒ ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม
๓ ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรมต่าง กระบวนการทัศน์
๔ ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ
๕ ทักษะด้านการสื่อสารสาระสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ
๖ ทักษะด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสาระสนเทศและการสื่อสาร
๗ ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้
ทักษะเพื่อการดำรงค์ชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑
๑) สาระหลัก การรอบรู้สาระวิชามีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งต่อความสำเร็จของผู้เรียน
๒) ทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม จะเป็นตัวกำหนดความพร้อมของผู้เรียนเข้าสู่โลกการทำงานที่มีความซับซ้อนมากขึ้นในปัจจุบัน
๓) ทักษะด้านสาระสนเทศสื่อและเทคโนโลยี ในปัจจุบันมีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ผ่านทางสื่อและเทคโนโลยีมากมายผู้เรียนจึงต้องมีความสามารถในการแสดงทักษะการคิดอย่างมีวิตจารณาญาณและปฏิบัติงานได้หลากหลาย
๔) ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ ในการดำรงชีวิตและทำงานในยุคปัจจุบันให้ประสบความสำเร็จนักเรียนจะต้อง พัฒนาทักษะชีวิตที่สำคัญ
วิธีการวัดและประเมินทักษะในศตวรรษที่ ๒๑
๑) การประเมินด้วยการสื่อสารส่วนบุคคล
๒) การประเมินจากการปฏิบัติ
๓) การประเมินตามสภาพจริง
๔) การประเมินด้วยแฟ้มสะสมผลงาน
แนวทางการวัดและประเมิน ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
๑. การวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาผู้เรียนโดยเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผลการเรียนและการเรียนรู้ของผู้เรียนในระหว่างการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่องบันทึกวิเคราะห์แปลกความหมายข้อมูลแล้วนำมาใช้ในการส่งเสริม
๒. การวัดและการประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนเป็นการประเมินสรุปผลการเรียนรู้
แนวคิดหลักของการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
ทักษะการเรียนรู้ ๕ ด้านที่สำคัญ
๑) มาตรฐานในศตวรรษที่ ๒๑
๒) การประเมินทักษะในศตวรรษที่ ๒๑
๓) หลักสูตร และการสอนในศตวรรษที่ ๒๑
๔) การพัฒนาทางวิชาการในศตวรรษที่ ๒๑
๕) สภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
เน้นองค์ความรู้ทักษะความเชี่ยวชาญและสมรรถภาพที่เกิดขึ้นกับตัวผู้เรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ แนวทางการวัดแลประเมินสำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษา
ปรัชญาการเรียนร่วมประกอบด้วยพื้นฐาน ๓ ประการ คือ ทุกคนย่อมมีสิทธิเท่าเทียมกันในโอกาสทางปรัชญาการเรียนร่วมประกอบด้วยพื้นฐาน ๓ ประการ คือ ทุกคนย่อมมีสิทธิเท่าเทียมกันในโอกาสทางความยุติธรรมในสังคม การคืนสู่ภาวะปกติสภาพแวดล้อมมีข้อจำกัดน้อยที่สุด และเด็กทุกคนสามารถเรียนรู้ได้ตามศักยภาพ
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการเป็นพิเศษ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษามีจุดมุ่งหมาย
๑) เพื่อประเมินความรู้ความสามารถพื้นฐานและความต้องการจำเป็นพิเศษเพื่อวางแผนการจัดการเรียนรู้
๒) เพื่อประเมินพัฒนาการและผลการเรียนรู้ของนักเรียนระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
๓) เพื่อตัดสินผลการเรียนเมื่อจบหน่วยการเรียนรู้หรือจบรายวิชาตามมาตรฐานและตัวชี้วัดในหลักสูตร
การประเมิน พฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษจะแบ่งออกเป็น ๒ ลักษณะ
๑) การประเมินพัฒนาการและผลการเรียนรู้ของนักเรียน
๒) การประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียน
หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
การดำเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษาเป็นไปอย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพมีผลการประเมินตรงตามสภาพความรู้ความสามารถที่แท้จริงตามศักยภาพของนักเรียนรายบุคคล
การเรียนรู้ที่สอดคล้องตามหลักสูตรสถานศึกษา
๑. สถานศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษาโดยเปิดโอกาสให้ผู้ที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม
๒. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษามีจุดมุ่งหมายเพื่อประเมินระดับความสามารถและความต้องการจำเป็นพิเศษ
๓. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษาแขวนอยู่บนพื้นฐานสอดคล้องและตอบสนองกับความ ต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษาของนักเรียน
๔. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการเรียน การสอนต้องดำเนินการด้วยวิธีที่หลากหลายเหมาะสมกับสภาพปัญหาความต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษาและศักยภาพของนักเรียน
๕. การประเมินนักเรียนพิจารณาจากพัฒนาการของนักเรียนความประพฤติสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้การร่วมกิจกรรมและทดสอบ
๖. เปิดโอกาสให้นักเรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้
๗. ให้มีการเทียบโอนผลการเรียนระหว่างสถานศึกษาและรูปแบบการศึกษาต่างๆ
๘. ให้สถานศึกษาจัดทำเอกสารหลักฐานการศึกษาเพื่อเป็นหลักฐานการประเมินผลการเรียนรู้รายงานผลการเรียนแสดงวุฒิการศึกษาและรับรองผลการเรียนของนักเรียน
แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ควรอยู่บนพื้นฐานที่สอดคล้องและตอบสนองกับความต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษาของนักเรียนโดยใช้แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลเป็นเครื่องมือในการดำเนินการ
๑. การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ดำเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นรายวิชาตามตัวชี้วัดในรายวิชาพื้นฐานตามผลการเรียนรู้ในรายวิชาเพิ่มเติม
๒. การประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน เป็นการประเมินศักยภาพของนักเรียนในการอ่านหนังสือเอกสารและสื่อต่างๆเพื่อหาความรู้เพิ่มพูนประสบการณ์ความสุนทรีย์และประยุกต์ใช้แล้วนำเนื้อหาสาระที่อ่านมาวิเคราะห์นำไปสู่การแสดงความคิดเห็น
๓. การประเมินคุณลักษณะอันเพิ่งประสงค์เป็นการประเมินที่ต้อง ให้เกิดขึ้นกับนักเรียนอันเป็นคุณลักษณะที่สังคมต้องการ ในด้านคุณธรรมจริยธรรมค่านิยมจิตรสำนึกสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข
๔. การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนรเป็นการประเมินปฏิบัติกิจกรรมและผลงานของนักเรียนเวลาในการเข้าร่วมกิจกรรมตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในแต่ละกิจกรรม
เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียน
๑. การตัดสินผลการเรียน
๒. การให้ระดับผลการเรียน
๓. การเลื่อนชั้น
๔. การเรียนซ้ำชั้น
๕. การสอนซ่อมเสริม
๖. เกณฑ์จบการศึกษา
๗. การรายงานผลการเรียน
ความสำคัญการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์สิทธิเสรีภาพและความเสมอภาคของบุคคล ย่อมได้รับความคุ้มครองของบุคคลย่อมมีสิทธิ์เสมอกันในการรับการศึกษา ไม่น้อยกว่า ๑๒ ปีที่รัฐจะต้องจัดให้อย่างทั่วถึง และมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
การจัดการศึกษาสำหรับบุคคล ซึ่งมีความบกพร่องทางร่างกายจิตใจ สติปัญญา อารมณ์ การสื่อสาร และการเรียนรู้หรือมีร่างกายพิการหรือทุพพลภาพหรือบุคคลซึ่งไม่สามารถพึ่งตนเองได้หรือไม่มีผู้ดูแลหรือด้อยโอกาส ต้องจัดให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิ์และโอกาสในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นพิเศษ
มีสิทธิ์ได้รับสื่อสิ่งอำนวยความสะดวกบริการและความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา
คนพิการมีสิทธิ์ทิทางการศึกษาโดยได้รับการศึกษาที่มีมาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษารวมทั้งการจัดหลักสูตรกระบวนการเรียนรู้การทดสอบทางการศึกษาที่เหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการจำเป็นพิเศษของคนพิการแต่ละประเภท
การกำหนดให้ผู้สอนจะต้องประเมินนักเรียนใน ๔ องค์ประกอบ
๑) การประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้
๒)การประเมินคุณลักษณะอันเพิ่งประสงค์
๓)การประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์และการเขียน
๔) การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แนวปฏิบัติในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษแต่ละประเภท
การประเมินระดับความรู้ความสามารถพื้นฐานและความต้องการจำเป็นพิเศษ
ปรับปรุงพัฒนาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
การจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
การกำหนดเกณฑ์และแนวทางการวัดและประเมินผลตามแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
การจัดกิจกรรมการเรียน การสอนและการประเมิน
การประเมินทบทวนและปรับปรุงแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
การรายงานผลการจัดการศึกษาตามแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
ความหมายของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
เด็กที่มีความต้องการพิเศษ หรือเด็กพิเศษ เป็นเด็กที่มีปัญญาและความต้องการจำเป็นพิเศษมากกว่าเด็กปกติทั่วไป
กลุ่มเด็กที่มีความบกพร่องทางการศึกษาทั้ง ๙ ประเภท
เด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น
เด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกายหรือสุขภาพ
เด็กที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษา
เด็กพิการซ้ำซ้อน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ฃ
เด็กที่มีปัญหาทางด้านการเรียนรู้ฃ
เด็กออทิสติก
กลุ่มเด็กที่มีความสามารถพิเศษหรือรู้จักกันในนามเด็กปัญญาเลิศเด็กอัจฉริยะ
กลุ่มเด็กด้อยโอกาส ซึ่งเด็กทั้งสามกลุ่มนี้จำเป็นจะต้องได้รับบริการทางการศึกษา โดยในการเข้ารับบริการการศึกษาพิเศษจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับประเภท และระดับของความบกพร่อง
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผล
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานการเรียนรู้
ที่กำหนดในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้และช่วงชั้นของผู้เรียน "ในการสอนแต่ละครั้ง/แต่ละแผนครูต้องการให้ผู้เรียนเกิดพฤติกรรมทางการศึกษาประเภทใด หรือต้องการให้ผู้เรียนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางการศึกษาประเภท"
๑. พฤติกรรมและลักษณะการแสดงออก
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดพฤติกรรมของผู้เรียนจะต้องมีคุณภาพ
เพื่อให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมทางการศึกษาให้ชัดเจน
ก่อนจะเข้าสู้ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือที่ใช้วัดพฤติกรรมทางการศึกษา
การแสดงออกและเนื้อหาของพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การนำไปใช้
การวิเคราะห์
ความเข้าใจ
การสังเคราะห์
ความรู้ - ความจำ
การประเมินค่า
การแสดงออกและเนื้อหาของพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การเกิดค่านิยม
ขั้นจัดระบบคุณค่า
ขั้นตอบสนอง
การสร้างลักษณะนิสัย
ขั้นรับรู้
๒. เครื่องมือในการวัดพฤติกรรมทางการศึกษา
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา หรือพฤติกรรมทางการศึกษาที่นำมากำหนดเป็นจุดประสงค์การเรียนรู้ของการเรียนการสอนในแต่ละรายวิชานั้นแบ่งเป็น ๓ ด้าน คือ พุทธิพิสัย(สติปัญญา) จิตพิสัย(ความรู้สึกนึกคิดทางจิตใจ คุณธรรม) และทักษะพิสัย(การปฏิบัติ)
การสัมภาษณ์
การสัมภาษณ์จะประกอบด้วยบุคคล ๒ ฝ่ายคือผู้สัมภาษณ์ และผู้ถูกสัมภาษณ์
การสัมภาษณ์นอกจากจะได้ข้อมูลตามต้องการแล้วยังช่วยให้ทราบข้อเท็จจริง
ของผู้ถูกสัมภาษณ์ในด้านบุคลิกภาพอีกด้วยเช่นการพูดการวางตัวอารมณ์ ฯลฯ
การสนทนาหรือการพูดโต้ตอบกันอย่างมีจุดมุ่งหมายเพื่อค้นหาความรู้
ความจริงตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ล่วงหน้า
การสังเกต
การพิจารณาปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น เพื่อค้นหาความจริงบางประการโดยอาศัยประสาทสัมผัสของผู้สังเกตโดยตรง
การสังเกตเป็นเครื่องมือที่สำคัญที่ทำให้ครูผู้สอนได้ข้อมูลที่เกี่ยวกับพฤติกรรมในด้านนี้อย่างชัดเจน
แบบวัดเชิงสถานการณ์
เป็นการจำลองหรือสร้างสถานการณ์เรื่องราวต่าง ๆ ขึ้นแล้วให้บุคคลแสดงความรู้สึก
สามารถวัดพฤติกรรมของผู้เรียนในระดับสูงได้ทั้งพฤติกรรมในด้านพุทธิพิสัย และจิตพิสัย
แบบทดสอบ
เครื่องวัดชนิดนี้เป็นที่นิยมใช้กันมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเก็บข้อมูลทางสังคมศาสตร์ เป็นวิธีการที่สะดวกและสามารถใช้ได้ย่างกว้างขวาง
แบบสอบถามส่วนใหญ่จะมีลักษณะอยู่ในรูปของคำถามเป็นชุด
เพื่อวัดในสิ่งที่ต้องการจะวัด เป็นตัวกระตุ้นเร่งเร้าให้ผู้ถูกวัดตอบคำถาม
มาตราส่วนประมาณค่า
เครื่องมือประเภทนี้จะมีความซับซ้อนในการวัดพฤติกรรมทางการศึกษาของผู้เรียนมากกว่าแบบตรวจสอบรายการ
สามารถวัดความถี่ มาก-น้อย ของพฤติกรรมของผู้เรียน
ส่วนใหญ่จะใช้เครื่องมือประเภทนี้ในการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิส้ยและทักษะพิสัย
การวัดผลภาคปฏิบัติ
การวัดผลงานที่ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติ
ซึ่งสามารถวัดได้ทั้งกระบวนการและผลงาน
สามารถวัดได้ว่าผู้เรียนมีความสามารถด้านสติปัญญาในระดับใด
และมีความสามารถด้านทักษะกระบวนการในระดับใด
ตรวจสอบรายการ
สร้างรายการข้อความเพื่อวัดเจตคติของผู้เรียน หรือความสามารถด้านทักษะของผู้เรียน
ข้อเสีย คือ พฤติกรรมหรือคุณลักษณะของผู้เรียนที่จะวัดนั้นต้องชั้นเจน มิเช่นนั้นจะทำให้สื่อความหมายไม่ตรงกัน
ง่ายต่อการใช้และสามารถนำไปวัดพฤติกรรมทางการศึกษาด้านจิตพิสัยและด้านทักษะพิสัยร่วมกับการสังเกตได้