Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
1.1 กำเนิดของจักรวาลและโลก, 1.2 ระบบสุริยะ (Solar System),…
1.1 กำเนิดของจักรวาลและโลก
โลก (Earth)
ระบบสุริยะ
(Solar system)
ดาราจักร
(Galaxy)
เอกภพ
(Universe)
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเกิดเอกภพ
1) ทฤษฎีการระเบิดครั้งใหญ่
(Big Bang Theory)
อับเบ จอร์จ ลือเมตเทรจ (Lemaitre A.G.)
นักดาราศาสตร์ชาวเบลเยี่ยม ในปี พ.ศ. 2470
จุดหนึ่งในอกาศประกอบไปด้วยมวลสารมีความหนาแน่นและพลังงานมหาศาลเกิดการขยายตัวอย่างรวดเร็วจนคล้ายการระเบิดที่รุนแรงมาก
หลังการระเบิด
ครั้งใหญ่ของเอกภพ
เอกภพเย็นตัวลง
เกิดธาตุ H ขึ้นมาเป็นธาตุแรก
พบมากที่สุดในเอกภพ
H เกาะกลุ่มกันจนเป็นกลุ่มแก๊สขนาดใหญ่ที่เรียกว่า เนบิวลา (Nebula)
เนบิวลา (Nebula)
เกิดจากกลุ่มแก๊ส He และ
ฝุ่นละอองขนาดใหญ่หลายล้านปีแสง
H จำนวนมากถูกหลอมรวมให้
เป็น He (ฮีเลียม)
ได้เป็นดาวฤกษ์ที่กำเนิดขึ้นมาหลังจากนั้น
2 more items...
หน่วยวัดระยะทางในอวกาศ
ปีแสง (Light year)
หน่วยวัดระยะทาง
ระหว่างดวงดาวหรือกาแล็กซี่
โดย 1 ปีแสง
เท่ากับ
ระยะทางที่แสงเดินทางในเวลา 1 ปี
หรือมีระยะทางประมาณ เก้าล้านห้าแสนล้าน
กม. (9,500,000,000,000 กม.)
AU (Astronomical Unit)
หน่วยวัดระยะทางในอวกาศ
โดย 1 AU ~ 150 ล้าน กม.
ทฤษฎีบิ๊กแบง (Big Bang)
หรือ ทฤษฎีระเบิดใหญ่
เป็นการระเบิดครั้งยิ่งใหญ่ที่ทำให้พลังงานส่วน
หนึ่งเปลี่ยนเป็นสสาร ซึ่งแรงระเบิดทำให้สสารแตกเป็นก๊าซร้อนฟุ้งกระจายไปทั่วอวกาศ ต่อมาเกิดการเย็นตัวลงกลายเป็นเทหวัตถุต่างๆ วิวัฒนาการต่อเนื่องจนเกิดเป็นกาแล็กซี เนบิวลา ดาวฤกษ์ ระบบสุริยะ โลก ดวงจันทร์ มนุษย์ และสิ่งมีชีวิตต่างๆ ในที่สุด
กาแล็กซี
เนบิวลา
ดาวฤกษ์
ระบบสุริยะ
โลก
ดวงจันทร์
มนุษย์ และสิ่งมีชีวิตต่างๆ
เอกภพหรือจักรวาล (Universe)
ดาวฤกษ์
ดาราจักร
บริเวณที่ดาวเคราะห์
สิ่งที่บรรจุอยู่ในอวกาศระหว่างดาราจักร สสารและพลังงานทั้งหมด อยู่ร่วมกันในบริเวณนั้น
กาแล็กซี (galaxy)
หมายถึง บริเวณที่มีดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ บริวารของดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง อุกกาบาต รวมทั้งแก๊สและฝุ่นธุลีอยู่ร่วมกันในอวกาศ กาแล็กซีเป็นส่วนหนึ่งของเอกภพที่กำเนิดมาจากมวลขอแก๊ส
ดาราจักรประกอบด้วย
ดาวจำนวนหลายพันล้านดวง
โดย
ระบบสุริยะของเราอยู่
1 more item...
2) ทฤษฎีสภาวะคงที่
(Steady State Theory)
เฟรด ฮอยล์ (Hoyle F.)
นักดาราศาสตร์จากประเทศอังกฤษ ในปี พ.ศ. 2491
เอกภพที่เราเห็นในปัจจุบันมีสภาพเหมือนเดิมแบบนี้มานานแล้วในอดีต และจะมีสภาพเป็นแบบนี้ตลอดไปในอนาคต ไม่เปลี่ยนแปลง
เอกภพไม่เปลี่ยนแปลง
นักวิทยาศาสตร์
2) ทฤษฎีสภาวะคงที่
(Steady State Theory) :red_cross:
1) ทฤษฎีการระเบิดครั้งใหญ่ :check:
(Big Bang Theory)
หลักฐานที่สอดคล้องกับ
ปรากฏการณ์ดอปเปลอร์
(Doppler Effect) ของคลื่น
เทียบกับ "แสง"
แหล่งกำเนิดแสง
เคลื่อนที่
ออกจากผู้สังเกต
F ต่ำ
1 more item...
เอ็ดวิน โพเวล ฮับเบิล (Hubble E.P.)
นักดาราศาสตร์ชาวอเมริกัน ทดลองถ่ายภาพสเปกตรัมของกาแล็กซีในเอกภพ ในปีพ.ศ. 2472
1 more item...
เข้าหาผู้สังเกต
F สูง
1 more item...
1.2 ระบบสุริยะ (Solar System)
คือ ระบบย่อยรองจาก
เอกภพและกาแล็กซี
ประกอบด้วย
ดวงอาทิตย์ (Sun) เป็นศูนย์กลาง
ดาวฤกษ์ (star)
หมายถึง ดาวที่มีแสงสว่างในตัวเอง
ดาวเคราะห์ (planet) 8 ดวง
โคจรรอบดวงอาทิตย์
ดาวเคราะห์ (planet)
ดาวที่ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง
แต่แสงสว่างที่เห็นเกิดจากการสะท้อนของแสงจากดวงอาทิตย์
กลุ่มดาวเคราะห์คล้ายโลก (terrestrial planet)
องค์ประกอบภายนอกเป็น
หินแข็งคล้ายโลก
ดาวพุธ
ดาวศุกร์
โลก
ดาวอังคาร
กลุ่มดาวเคราะห์คล้ายดาวพฤหัสบดี (Jovian planet)
โครงสร้างภายในส่วนใหญ่มีสถานะเป็นของเหลวหรือก๊าซ
มากกว่าของแข็ง
ดาวพฤหัสบดี
ดาวเสาร์
ดาวยูเรนัส
ดาวเนปจูน
มีมวลมากพอที่จะมีแรงดึงดูดตัวเองให้อยู่ใน
" สภาวะสมดุลอุทกสถิต (hydrostatic balance) "
ดาวพลูโต
ถูกปลดออกจากระบบสุริยะไม่สามารถควบคุมแรงดึงดูดได้ และมีวงโคจรไม่สอดคล้องกับดาวเคราะห์ข้างเคียง
โลกเป็นตัวแบ่ง "วงโครจร"
ดาวเคราะห์วงใน (Inferior planet)
คือ ดาวเคราะห์ที่มี
วงโคจรรอบดวงอาทิตย์ใกล้กว่าโลก
ดาวพุธ
ดาวศุกร์
ใกล้
ดาวเคราะห์วงนอก
(Superior planet)
คือ ดาวเคราะห์
ที่มีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ไกลกว่าโลก
ดาวอังคาร
ดาวพฤหัสบดี
ดาวศุกร์
ไกล
รวมทั้งเทหวัตถุขนาดเล็กอื่นๆ อีกจำนวนมาก
ดาวเคราะห์แคระ
(dwarf planet)
ดาวหาง (comet)
ดาวตก (meteor)
กรณีเทหวัตถุมีขนาดใหญ่อาจตกถึงพื้นโลกได้เรียกว่า
" อุกกาบาต (meteorite)"
นักวิทยาศาสตร์พบหลักฐานขออุกกาบาตหลายแห่งบนโลก เช่น หลุมอุกกาบาตที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.4 กิโลเมตร
ในรัฐแอริโซนา ประเทศสหรัฐอเมริกา
เทหวัตถุที่มีนิวเคลียสประกอบด้วยน้ำแข็ง, CH4, NH3, CO2 และเศษหินปะปนกัน
เมื่อดาวหางโคจรเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ ความร้อนจะทำให้ิวเคลียสบางส่วนระเหิดกลายเป็นก๊าซทิ้งไว้ตามทางที่ดาวหางโคจรผ่าน
โคจรรอบดวงอาทิตย์ มีสภาวะสมดุลอุทกสถิต แต่มีวงโคจรที่ไม่สอดคล้องกับดาวเคราะห์ข้างเคียง และไม่ใช่ดาวบริวาร
ดาวพลูโต
ดาวซีเรส (Ceres)
ดาวอีริส (Eris)
ดาวเฮาเมอา (Haumea)
ดาวมาคีมาคี (Makemake)
สมมุติฐานของการเกิดระบบสุริยะ
1) สมมุติฐานพลาเนตติซิมัล
(Planeteslma Hypothesls)
1) จอร์จ หลุยส์ เลแชร์ บูฟง (Buffon G.L.L.)
นักวิทยาศาสตว์ชาวฝรั่งเศสในปี พ.ศ.2288
สมมุติฐานดาวสองดวง
(Two-star Hypothesis)
ระบบสุริยะในช่วงเริ่มตันมีดวงอาทิตย์เกิดขึ้นก่อน ต่อมามีดาวฤกษ์ขนาดใหญ่เคลื่อนที่เข้าใกล้ดวงอาทิตย์ทำให้เกิดแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน
เศษขึ้นส่วนของดวงอาทิตย์หลุดออกมาบางส่วนรวมตัวกันเป็นดาวเคราะห์ และบางส่วนกลายเป็นเทหวัตถุ
2) สมมุติฐานกลุ่มหมอกควัน
(Nebula Hypothesis)
1) เพียร์ ไซมอน ลาพลาส (Laplace P.S.)
2) เอ็มมานูเอล คานท์ (Kant E.)
นักวิทยาศาสตว์ชาวฝรั่งเศสในปี พ.ศ. 2349
สมมุติฐานดาวเคราะห์แรกเริ่ม (Protoplanet Hypothesis)
ระบบสุริยะเกิดมาจาก
กลุ่มหมอกควัน (nebula)
จากการระเบิดครั้งใหญ่ ในช่วงเวลา 4,600 ล้านปี
การกำเนิดของโลก
ระยะรวมตัวเนื้อเดียว (conglomeration stage)
องค์ประกอบภายในโลกยังเป็นเนื้อเดียวกัน
องค์ประกอบตั้งต้นหลักเป็น
ซิลิกา (SiO2)
เหล็ก (Fe)
แมกนีเซียม (Mg)
ธาตุอื่นๆ บางส่วน
การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี
(Radioactive element)
ที่มีอยู่ในโลก เช่น
ทอเรียม (Th)
ทำให้โลกใน
ระยะแรกมีอุณหภูมิสูง 1,500-1,800 องศาเซลเซียส
ธาตุโปแตสเซียม (K)
ธาตุยูเรเนียม (U)
ระยะก่อเหล็ก (iron catastrophic stage)
สารประกอบภายในโลกเริ่มหลอมละลาย
ธาตุที่มีความหนาแน่นสูง เช่น
เหล็ก จมตัวลงใจกลางโลกเป็นองค์ประกอบของ
แก่นโลก (core)
ระยะแยกชั้น (planetary differentiation stage)
เมื่อเหล็กเริ่มจม
ตัวสู่ใจกลางโลก
มวลของสารประกอบอื่นๆซึ่งเบากว่า
ซิลิกา, โซเดียม, โปแตสเซียมและแคลเซียม จึงลอยตัวขึ้นแทนที่
ที่ผิวนอกของโลก
ซึ่งสัมผัสกับบรรยากาศเริ่มเย็นตัวกลายเป็น
เปลือกโลกแรกเริ่ม
(Primitive crust)
ส่วนชั้นกลางระหว่างเปลือกโลก
และแก่นโลก
มีองค์ประกอบผสมกันระหว่างองค์ประกอบของเปลือกโลกและแก่นโลกเรียกว่า
เนื้อโลก (Mantle)
ระยะเกิดใหม่ (earth-reborn stage)
การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสีภายในโลก
ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ทำให้อุณหภูมิภายในโลกเพิ่มสูงขึ้นอีก สารประกอบ
ภายในโลกจึงหลอมเหลว เกิดการถ่ายเทความร้อนในรูปแบบ
การพาความร้อน (convection)
ระยะเย็นตัว (engine-down stage)
ปัจจุบันโลกยังพยายามถ่ายเทความร้อนออกสู่ภายนอกอยู่ตลอดเวลาเห็นได้จากการประทุของภูเขาไฟตามพื้นที่ต่างๆ
การประทุของภูเขาไฟ
กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
2.1 การศึกษาโครงสร้างโลก
แกนโลกชั้นใน (Inner core)
ชั้นในสุดของโลก
ทำจากโลหะจำพวกเหล็ก
สถานะเป็นของแข็ง
แกนโลกชั้นนอก (Outer core)
ประกอบด้วยเหล็กเหลวเป็นส่วนใหญ๋
สถานะของเหลว
การหมุนของโลกการเคลื่อนที่นี้เรียกว่า "โรลเลอร์"
เนื้อโลก (Mantle)
เนื้อโลกตอนล่าง
(Lower mantle)
ชั้นมิชณมภาค (Mesosphere)
สถานะเป็นของแข็ง
องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็น Fe Mg Si
เนื้อโลกตอนบน
(Upper mantle)
หรือฐานธรณีภาค (Asthenosphere)
ลักษณะเป็น
ของแข็งเนื้ออ่อน
อุณหภูมิสูงมากทำให้แร่บางส่วนหลอมละลาย
หินหนืด (Magma)
เนื้อโลกตอนบนสุด (Uppermost mantle)
ฐานรองรับเปลือกโลกทวีป และเปลือกโลกมหาสมุทร
ธรณีภาค(Lithosphere)
2.2 การเคลื่อนที่ของโลก
ทฤษฎีทวีปเลื่อน (Continental Drift Theory)
อัลเฟรด เวกเนอร์
(Alfred Wegner)
“แพนเจีย (Pangaea) หรือมหาทวีป”
ทฤษฎีเปลือกโลกใต้มหาสมุทรแยกตัว
(Sea Floor Spreading Theory)
แผ่นเปลือกโลกที่สำคัญ
จำนวน 13 แผ่น
ได้แก่
แผ่นอเมริกาเหนือ
อเมริกาใต้
ยูเรเซีย
แอฟริกา
แปซิฟิก
แอนตาร์กติก
ฟิลิปปินส์
อาหรับ
ฮวนเดฟูกา
โคโคส
แคริเบียน
นาซก้า
อินเดีย
หลักฐานที่ว่าเคยเป็น "เปลือกโลกเดียวกัน"
หลักฐานภูมิศาสตร์กายภาพ (Physical Geography)
หลักฐานบรรพชีวินวิทยา (Paleontology)
หลักฐานทางภูมิอากาศบรรพกาล (Paleoclimatology)
การเคลื่อนที่ของโลก
แผ่นธรณีเคลื่อนที่ออกจากกัน
(Divergent boundary)
เกิดสันเขาใต้มหาสมุทร
( Mid Ocean Ridge)
เกิดทรุดตัวกลายเป็นหุบเขาทรุด (Rift Valley)
แผ่นธรณีเคลื่อนที่เข้าหากัน (Convergent boundary)
แผ่นเปลือกโลกมหาสมุทรชนกัน
เกิดร่องลึกมหาสมุทร
(Mid oceanic trench) เกิดเป็นเกาะต่าง ๆ ตามแนวร่องลึกมหาสมุทร เช่น
เกาะญี่ปุ่น
เกาะฟิลิปปินส์
แผ่นเปลือกโลกทวีปชนกัน
เกิดการยกตัวขึ้นกลายเป็นเทือกเขาสูง เช่น
เทือกเขาหิมาลัย ประเทศเนปาล
มียอดเขาที่สูงที่สุดในโลก
ยอดเขาเอเวอเรสต์
สูงประมาณ 8,848 เมตร
แผ่นทวีปออสเตรเลีย-อินเดีย
1 more item...
แผ่นเปลือกโลกมหาสมุทรชนกับแผ่นเปลือกโลกทวีป
เกิดการยกตัวขึ้นกลายเป็นภูเขาสูงริมชายฝั่งทะเล เช่น
เทือกเขาแอนดีส
บริเวณชายฝั่งตะวันตกของทวีปอเมริกาใต้
เทือกเขาที่ยาวที่สุดในโลก
เป็นเทือกเขาหลักของทวีปอเมริกาใต้ ยาวประมาณ 8,900 กม.
เทือกเขาแอนดีสครอบคลุม
7 more items...
การชนของแผ่นนาซกา
1 more item...
แผ่นธรณีเคลื่อนที่ผ่านกัน (Transform boundary)
แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่สวนกัน
เกิดรอยเลื่อนขนาดใหญ่
เกิดแผ่นดินไหวอย่างรุนแรง
รอยเลื่อนซานแอนเดรีย
รัฐแคลิฟอเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา
ตัวอย่างที่สำคัญของการเคลื่อนที่ของโลก
เทือกเขาทิงเวลเลียร์(Thingvellir)
ในประเทศไอซ์แลนด์
เกิดจากการแยกตัว
แผ่นเปลือกโลกอเมริกาเหนือ
แผ่นยูเรเชีย
ระบบโลก (Earth System)
3.1 บรรยากาศ (Atmosphere)
ส่วนประกอบของบรรยากาศ
Nitrogen 78 %
Oxygen 21 %
Other 1 %
3.2 ธรณีภาค (Lithosphere)
3.3 อุทกภาค (Hydrosphere)
3.4 ชีวภาค (Biosphere)
ส่วนของสิ่งมีชีวิตทั้งหมด
บนโลก
พืช
สัตว์
แบคทีเรีย
เชื้อรา
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
มนุษย์
ผิวโลกมีพื้นที่อุทกภ าคถึงร้อยล ะ 70%
หากน้ำใต้ดินและน้ำอยู่ในสถานะที่เป็นของแข็ง
หิมะภาค (Cryosphere)
เป็นชั้นหินแข็งที่อยู่บนสุดของโลก
รวมถึงเนื้อโลกตอนบนและเปลือกโลก
“พื้นธรณี (Geosphere)
หรือ ปฐพีภาค (Pedosphere)
ชั้นบรรยากาศ
(The Layers of the Atmosphere)
1.2.1 โทรโพสเฟียร์(Troposphere)
มนุษย์อาศัยอยู่
1.2.2 สตราโทสเฟียร์(Stratosphere)
แก๊สส้าคัญในชั้นนี้ คือ แก๊สโอโซน ซึ่งช่วยดูดซับรังสี UV จากดวงอาทิตย์
1.2.3 มีโซสเฟียร์(Mesosphere)
ชั้นนี้เป็นชั้นที่ยากต่อการศึกษา
1.2.4 เทอร์โมสเฟียร์(Thermosphere)
" ไอโอโนสเฟียร์" (Ionosphere)
มีสมบัติในการสะท้อนคลื่นวิทยุ
เกิดประโยชน์ในการสื่อสารโทรคมนาคมระยะไกล
1.2.5 เอกโซสเฟียร์(Exosphere)
ไม่มีขอบเขตชัดเจนระหว่างบรรยากาศ
และอวกาศ
แก๊สฮีเลียม He
แก๊สไฮโดรเจน H
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและผลกระทบ
2.1 การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
2.2 สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
2.3 ปรากฏการณ์ก๊าซเรือนกระจก
2.4 ผลกระทบที่ได้รับจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
ต่อสภาพอากาศ
2) ปริมาณหยาดน้้าฟ้าโดยเฉลี่ยจะเกิดมากขึ้นและมีการผันแปรมากขึ้นในแต่ละช่วงเวลาของปี
3) การผันแปรสภาพอากาศรุนแรง เช่น การเกิดฝนตกหนัก น้้าท่วมฉับพลัน ภาวะแห้งแล้งความถี่ของพาย
4) ชั้นของหิมะและน้้าแข็งในแถบ
ขั้วโลกเหนือจะลดจำนวนลงไปมากขึ้นกว่าเดิม
แต่ในเขตขั้วโลกใต้อาจเพิ่มจำนวนขึ้น
5) ระดับของน้้าทะเลทั่วโลกจะสูงขึ้น
1) อุณหภูมิของอากาศที่ระดับผิวโลกจะเพิ่มสูงขึ้น
ต่อสุขภาพชีวิต
และความเป็นอยู่ของประชากร
2) การสูญเสียโซ่อาหารและระบบนิเวศ (ecosystem loss) เช่น ปะการังเกิดฟอกขาว
3) เกิดโรคชนิดใหม่ / สายพันธุ์ใหม่
1) การเกิดคลื่นความร้อนจะมีความถี่มากขึ้นเรื่อยๆ สภาพอากาศแห้งแล้ง ไฟป่าจะตามมาส่งผลให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สิน
4) ในอนาคตบางพื้นที่อาจจมตัวลงใต้ระดับน้ำทะเล
2.3.1 ก๊าซเรือนกระจก (greenhouse gas)
(carbon dioxide) หรือ CO2
(Nitrous Oxide) N2O แก๊สหัวเราะ
HCFCs (Hydrochlorofluorocarbon)
H2O
CFCs (Chlorofluorocarbon)
CH4 มีเทน (Methane)
2.3.2 การเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก
ภาวะที่ชั้นบรรยากาศของโลกกระท้าตัวเสมือนกระจก ที่ยอมให้รังสีคลื่นสั้นผ่านลงมายังผิวโลกได้ แต่จะดูดกลืนรังสีคลื่นยาวช่วงอินฟราเรดที่แผ่ออกจากพื้นผิวโลกเอาไว้
จากนั้นก็จะคายพลังงานความร้อน ให้กระจายอยู่ภายใน ชั้นบรรยากาศและพื้นผิวโลก จึงเปรียบเสมือนกระจกที่ปก คลุมผิวโลกให้มีภาวะสมดุลทางอุณหภูมิ และเหมาะสมต่อ สิ่งมีชีวิตบนผิวโลก
ปัจจุบันมีก๊าซบางชนิดสะสมอยู่ในชั้นบรรยากาศมากเกิน สมดุล ซึ่งก๊าซเหล่านี้สามารถดูดกลืนรังสีคลื่นยาวช่วง อินฟราเรดและคายพลังงานความร้อนได้ดีพื้นผิวโลกและ ชั้นบรรยากาศ จึงมีอุณหภูมิสูงขึ้นส่งผลกระทบต่อสภาพ ภูมิอากาศของโลก และสิ่งมีชีวิตพื้นผิวโลกอย่างมากมาย
2.2.1 การผันแปรของปริมาณก๊าซ CO2 ในชั้นบรรยากาศ
(atmospheric carbon dioxide variation)
2.2.2 การปะทุของภูเขาไฟ
(volcanic eruption)
อุณหภูมิของอากาศมีความสัมพันธ์กับการ เกิดจุดดับบนดวงอาทิตย์ (sunspot) เมื่อมี จุดดับส่งผลให้อุณหภูมิบนผิวโลกลดลง
2.2.3 การผันแปรของพลังสุริยะ
(variations in solar output)
ภูมิอากาศ (Climate)
คือรูปแบบสภาพอากาศระยะยาว
ในพื้นที่หนึ่งๆ
ค่าเฉลี่ยของ
ปริมาณน้้าฝน
อุณหภูมิ
ความชื้น
ปรากฏการณ์ต่างๆ เช่น
หมอก
น้้าค้างแข็ง
พายุลูกเห็บ
การวัดสภาพอากาศอื่นๆ ที่เกิดขึ้นเป็นระยะเวลานานโดยเฉพาะสถานที่
แสงแดด
ความเร็วลม
สภาพอากาศ(Weather)
สภาพอากาศเป็นพฤติกรรมของบรรยากาศ ส่วนใหญ่เกี่ยวกับ
ผลกระทบต่อชีวิตและกิจกรรมของมนุษย์
สภาพอากาศประกอบด้วย
การเปลี่ยนแปลงในระยะสั้น
(นาทีถึงเดือน)
ในบรรยากาศ
พิจารณาสภาพอากาศในแง่ของ
อุณหภูมิ
ความชื้น
ปริมาณน้้าฝน
ความขุ่น
ความสว่าง
ทัศนวิสัย เป็นต้น
อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change: UNFCCC) การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (Climate change) คือ การเปลี่ยนแปลงลักษณะอากาศเฉลี่ย (average weather) ในพื้นที่หนึ่งๆ ที่เกิดจากพฤติกรรมมนุษย์ทั้งทางตรงและทางอ้อม
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
(Climate change)
คือ การเปลี่ยนแปลงลักษณะอากาศเฉลี่ย
(average weather)
ในพื้นที่หนึ่งๆ ที่เกิดจากพฤติกรรมมนุษย์ทั้งทางตรงและทางอ้อม
การเพิ่มขึ้นของค่าเฉลี่ยอุณหภูมิพื้นผิว
ค่าเฉลี่ยของระดับน้้าทะเลทั่วโลก
หิมะที่ปกคลุมบริเวณซีกโลกเหนือ
วัฎจักรของน้ำ (Water Cycle)
น้ำผิวดิน (Surface Waters)
1.1 พื้นที่ลุ่มน้ำ (Watershed)
1.1.1 ลุ่มน้ำ (Watershed)
ข้อมูลลุ่มน้ำในประเทศไทย
1.2 ระบบแม่น้ำ (River system) และกระบวนการที่เกิดในแม่น้ำ (River Process)
1.2.2 กระบวนการที่เกิดในแม่น้ำ (River Process)
กระบวนการกัดกร่อน (Erosion)
การเคลื่อนย้ายและพัดพาตะกอน (Transportation)
การทับถม (Deposition)
1.3 ภูมิประเทศที่ส้าคัญของแม่น้ำ
1) ภูมิประเทศของแม่น้ำตอนบน
1.1) แก่ง (Rapids)
เป็นผลจากการที่แม่น้ำกร่อนทางดิ่งเฉพาะที่ในแม่น้ำอย่างรวดเร็ว
อาจก่อตัวจากปลาย
ของน้ำตกหรือจุดที่เคยเป็นน้ำตกมาก่อน
1.2) น้ำตก (Waterfalls)
เป็นผลจากการกัด
กร่อนทางดิ่งและรุกคืบไปทางต้นน้ำ
โดยหินแต่ละบริเวณจะทนการกัดกร่อนแตกต่างกัน หินที่ทนต่อการกัดกร่อนน้อยกว่าจะถูกกร่อนเร็วเกิดขึ้นเป็นบันไดท้องน้ำ แรงดันน้ำจะกัดกร่อนให้บันไดให้ ใหญ่ขึ้นทำให้ท้องน้ำมีระดับต่างกันมากขึ้น จนน้ำจากต้นน้ำไหลมาสู่ท้องน้ำที่อยู่ต่ำ ลงไปเรียกว่า “น้ำตก”
1.3) เนินตะกอนน้ำพารูปพัด (Alluvial fan)
เกิดจากตะกอน (sediment)
ที่ถูกเคลื่อนย้ายพัดพามา
โดยกระแสน้ำในลำธาร
โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝนที่มีน้ำป่าไหลหลาก ในขณะที่น้ำป่าไหลหลากมาถึงเชิงเขาที่มีความลาดเอียวงน้อยกว่า กระแสน้ำจะสูญเสียความเร็วและพลังงานจึงไม่สามารถพัดพาตะกอนขนาดใหญ่ไปได้จึงตะกอนดังกล่าวไว้ที่เชิงเขา
2) ภูมิประเทศของแม่น้ำตอนกลาง
2.1) แม่น้ำโค้งตวัด (Meander river)
การที่แม่น้ำไหลคดเคี้ยวเกิดจากความพยายามในการที่จะ
ทำให้เกิดสมดุลของพลังงาน
การที่แม่น้ำไหลคดเคี้ยวเกิดจากความพยายามในการที่จะทำให้เกิดสมดุลของพลังงานความเร็วของตะกอนท้องน้ำและปริมาณของน้ำ
2.2) ที่บริเวณตลิ่งโค้งเข้า (concave bank)
หรือตลิ่งโค้งด้านนอก (outside bend)
จะเกิดการกัดกร่อนเป็นผาชันหรือร่องน้ำลึก
ส่วนที่ตลิ่งโค้งออก (convex bank)
หรือโค้งด้านใน (inside bend) กระแสน้ำจะไหลช้ากว่า เกิดการทิ้งตะกอนทับถมเป็น
สันดอนทรายแม่น้ำโค้งตวัด (point bar)
2.3) ทะเลสาบรูปแอก (Ox-bow lake)
การที่เส้นทางของโค้งแม่น้ำเก่าถูกปิดกันอย่างสินเชิงด้วยตะกอนแม่น้ำ
ทำให้คอร่องน้ำที่โค้งตวัดเดิม (neck of meander) ถูกกร่อนจนใกล้กันมาก และในที่สุดตลิ่งโค้งเข้าของสองโค้งน้ำก็บรรจบกัน กระแสน้ำในแม่น้ำก็ไหลตัดผ่านคอของแม่น้ำคดโค้งส่วนนี้และหลังจากนี้ แม่น้ำจะไหลโดยใช้เส้นทางตัดตรงที่สั้นที่สุดแทนที่จะไหลอ้อมตามโค้งของแม่น้ำ
2.4) แม่น้ำสายประสาน (Braided river)
เกิดได้ทุกช่วงของแม่น้ำ
รูปแบบการไหลของน้ำและการตกตะกอนทับถมในแม่น้ำสายประสานค่อนข้างซับซ้อน
3) ภูมิประเทศของแม่น้ำตอนล่าง
3.1) ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ
(River delta)
เกิดจากความเร็วของแม่น้ำลดลงฉับพลัน
จึงเกิดการสะสมตัวของตะกอนทั้งที่เป็นตะกอนท้องน้ำและตะกอนแขวนลอย
สถิติเกี่ยวกับแม่น้ำ
ทวีปแอฟริกา
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปเอเชีย
ทวีปยุโรป
ทวีปออสเตรเลีย/โอเชียเนีย
ใต้ดิน (Underground Waters)
2.1 หลักการของน้ำใต้ดิน
(Principle of groundwater flow)
2.2 กระบวนการที่เกิดบนผิวโลกจาก
การกระทำของน้ำใต้ดิน
น้ำพุ (Spring)
เป็นผลจากชั้นหินอุ้มน้ำมีน้ำเติมจนถึงจุดที่น้ำไหลล้นออกมาสู่พื้นผิวโลก
หลุมยุบ (Sinkhole)
ที่เกิดขึ้นจากธรรมชาติมีสาเหตุจากการกัดกร่อนหรือการทำละลายของน้ำใต้ดิน
ถ้ำ (Cave)
ส่วนมากเกิดจากหินปูนที่มีชั้นหนาแน่นและบริสุทธิ์
เมื่อฝนที่ตกผ่านชั้นบรรยากาศซึมลงสู่ชั้นใต้ดิน
ย่อมมีการสัมผัสก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
เกิดการผสมรวมกันเป็นกรดคาร์บอนิก
น้ำฝนที่มีสภาพ ความเป็นกรดซึมลงไปจึงเกิดการท้าละลายของ ชั้นหินปูนอย่างช้าๆ จนเกิดเป็นโพรงขึ้น