Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ, นายพลกฤษ สีดาห้าว UDA6380001 - Coggle…
ความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
การตรวจ Arterial blood gas ในผู้ป่วย
ผู้ป่วยในภาวะฉุกเฉิน
ผู้ป่วยในระหว่างการดมยา
ผู้ป่วยหนักและรุนแรงใน ICU
ผู้ป่วยภาวะหายใจล้มเหลว
ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยออกซิเจน
ผู้ป่วยที่มีภาวะเสียสมดุลกรด ด่าง
ความจุของปอด
Functional residual capacity (FRC) คือความจุปอดที่คิดเป็นปริมาตรของอากาศคงเหลืออยู่ในปอดหลังจากหายใจออกตามปกติหรือเป็นผลรวมของ ERV + RV ปกติมีค่าประมาณ 2,200 ml
Vital capacity (VC) คือความจุของปอดที่คิดเป็นปริมาตรของอากาศหายใจออกเต็มที่หลังจากการหายใจเข้าเต็มที่หรือเป็นผลรวมของ IRV + TV + ERV ปกติมีค่าประมาณ 4,800 ml
Inspiratory capacity (IC) คือความจุของปอดที่คิดเป็นปริมาตรของอากาศที่หายใจเข้าไปได้เต็มที่หลังจากหายใจออกตามปกติหรอืเป็นผลรวมของ TV + IRV ปกติมีค่าประมาณ 3,800 m
Total lung capacity (TLC) คือความจุของปอดที่คิดเป็นปริมาตรของอากาศทั้งหมดเมื่อหายใจเข้าเต็มที่หรือเป็นผลรวมของ VC + RV ปกติมีค่าประมาณ 6,000 ml
การแลกเปลี่ยนก๊าซระดับปอด (Gas exchange)
Ventilation “V”
Diffusion
Perfusion “Q”
การขับเสมหะในทางเดินหายใจ
การหายใจอย่างถูกวิธีและการไออย่างมีประสิทธิภาพ
การดูดเสมหะโดยใช้ลูกยางแดง
การดูดเสมหะด้วยสายดูดเสมหะ
Pleural effusion or Hydrothorax
ภาวะที่มีการสะสมของเหลวในเยื่อหุ้มปอดถ้าของเหลวนั้นเป็นหนองเรียกว่า empyema แต่ถ้าเป็นเลือดเรียกว่า hemothorax
ความผิดปกติของการหายใจ
Restrictive pulmonary function ภาวะที่การขยายตัวของปอดถูกจํากัด
Obstructive pulmonary function ภาวะที่มีการอุดกั้นของทางเดินหายใจ
การตรวจสมรรถภาพปอด (Pulmonary Function Tests)
เป็นการตรวจที่สำคัญสำหรับการวินิจฉัย, ประเมินและติดตามผลการรักษาโรคระบบการหายใจบ่งถึงการเสื่อมการทำงานของปอดก่อนที่อาการแสดงทางคลินิกจะเริ่มปรากฏเนื่องจากปอดเป็นอวัยวะที่มีความสามารถสํารองสูง
การแลกเปลี่ยนก๊าซ (Gas exchange)
การแลกเปลี่ยนก๊าซระดับปอด (Pulmonary gas exchange)
การแลกเปลี่ยนก๊าซระดับหลอดเลือดฝอย (Capillary gas exchange)
การแลกเปลี่ยนก๊าซระดับเซลล์(Cellular gas exchange)
การแลกเปลี่ยนก๊าซระดับเซลล์ขนาดเล็ก (Subcellular gas exchange)
การใส่สายระบายทรวงอก (Chest tube insertion)
การใส่สายระบายทรวงอก intercostal drainage; ICD) คือการใส่สายเข้าไปยังช่องเยื่อหุ้มปอด (pleural cavity)
ความผิดปกติของการหายใจ
Dyspnea
plural pain
การเปลี่ยนแปลงของระบบหายใจมีสาเหตุส่วนใหญ่จากการทำหน้าที่ของทางเดินหายใจและปอดผิดปกติลักษณะทางคลินิกที่พบบ่อย
Abnormal breathing patterns
การประเมินสมรรถภาพการทำงานของปอด (Pulmonary function test)
การประเมินสมรรถภาพของระบบการหายใจ (Pulmonary function test) โดยใช้มาตรวัดปริมาตรอากาศหายใจเข้าและออกที่ใช้บ่อย
การประเมินก๊าซในหลอดเลือดแดง (Arterial bloodgas)
พยาธิวิทยาของ Pneumonia
ระยะแรก Interstitial edema
ระยะที(สอง Alveolar Edema
หน้าที่ของทางเดินหายใจส่วนล่าง
เป็นทางผ่านอากาศเข้าสู่ถุงลม
สร้างน้ำเมือกดักจับสิง( แปลกปลอม
สร้างสารเคลือบผิว(surfactant)
การระบายอากาศและการไหลเวยีนเลือดผ่านปอด
สามารถหายใจเข้าเพิ่มได้อีกจนเต็มที่ต่อจากการหายใจเข้าตามปกติมีค่าประมาณ3,300 ml
Expiratory reserve volume (ERV)คือปริมาตรของอากาศที่สามารถหายใจออกได้อีกจนเต็มที่ต่อจากการหายใจออกตามปกติมีค่าประมาณ1,000ml
Tidal volume (TV) คือปริมาตรของอากาศในการหายใจเข้าหรือหายใจออกในครงหนึ่งๆในInspผู้ใหญ่จะมีค่าปกติประมาณ 500 ml iratory reserve volume (IRV) คือปริมาตรของอากาศที่
Residual volume (RV) คือปริมาตรของอากาศที่ยังคงเหลือค้างอยู่ในปอดหลังจากการหายใจออกอย่างเต็มที่มีค่าประมาณ 1,200 ml
ความต้านทานการหายใจ (Resistance of breathing)
Airway resistance
Tissue resistance
Elastic resistance
หลักการพยาบาล Restrictive pulmonary function
แก้ไขตามสาเหตุของภาวะนั้นๆ
การแก้ไขภาวะของ Hypoxemia
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
ทางเดินหายใจส่วนบน(upperairway) โพรงจมูกคอหอย(phalynx) กล่องเสียง(larynx)
ทางเดินหายใจส่วนล่าง (Lower airway) : หลอดลม(trachea) หลอดลมเล็ก (bronchi) หลอดลมฝอย (bronchiole)และถุงลม (alveoli)
กลไกระบบหายใจ
ขณะหายใจเข้า
กะบังลมจะเลื่อนต่ำลงกระดูกซี่โครงจะเลื่อนสูงขึ้น
ทําให้ปริมาตรช่องอกเพิ่มมากขึ้น
ความดันอากาศภายในบริเวณรอบๆปอดลดตาลงกว่าอากาศภายนอก
อากาศภายนอกจึงเคลื่อนที่เข้าสู่จมูกหลอดลมไปยังถุงลมปอด
ขณะหายใจออก
ทําให้ปริมาตรของช่องอกลดน้อยลง
ความดันอากาศในบริเวณรอบๆปอดสูงกว่าอากาศภายนอก
กระดูกซี่โครงจะเลื่อนต่ำลง
อากาศในถุงลมปอดจึงเคลื่อนที่จากถุงลมปอดสู่หลอดลมออกทางจมูก
กะบังลมจะเลื่อนสูงขึ้น
การหายใจ
คือ กระบวนการแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
เพื่อใช้ในกระบวนการเมตาบอลิซึมของเซลล์เนึ้อเยื่อ
การขนส่งก๊าซ (Transport mechanism)
การหายใจภายใน (Internal respiration)
การหายใจภายนอก (External respiration)
การทํางานของระบบหายใจ มีความสําคัญต่อการดํารงชีวิต
นําออกซิเจนจากบรรยากาศเข้าสู่ร่างกาย
โดยการหายใจเข้านําออกซิเจนสู่ถุงลม (Alveolar) ในปอดและมีการแลกเปลี่ยนก๊าซกับถุงลมกับเลือด
ขจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
รักษาสมดุลกรดด่าง
หน้าที่ของทางเดินหายใจส่วนบน
เป็นทางผ่านของอากาศสู่ทางเดินหายใจส่วนล่าง
ป้องกันสิ่งแปลกปลอมเข้าสู่ทางเดินหายใจส่วนล่าง
ปรับอุณหภูมิและกรองความชึ้น
โครงสร้างของอวัยวะที่เกี่ยวกับทางเดินหายใจ
ท่อทางเดินหายใจและปอด
กล้ามเนื้อหายใจ
กล้ามเนื้อหายใจเข้า
กล้ามเนื้อหายใจออก
นายพลกฤษ สีดาห้าว UDA6380001