Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาล ผู้สูงอายุ, ้ - Coggle Diagram
บทที่ 5 มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาล
ผู้สูงอายุ
ความหมาย นิยาม สถานการณ์ ผลกระทบกับ
โครงสร้างประชากรสูงอาย
1.ทยาการว่าด้วยผู้สูงอายุ เรียกว่า Gerontology
2.วิทยาการด้านการแพทย์เกี่ยวกับผู้สูงอายุ เรียกว่า Geriatrics
medicine
3.การพยาบาลเฉพาะทางผู้สูงอายุ เรียกว่า Geriatric nursing หรือ
Gerontological Nursing
4.ในองค์กรสหประชาชาติ ตกลงใช้คําว่า older persons
5.มีคําหลายคํา ใช้เป็ นสรรพนามเรียกผู้สูงอายุ เช่น Aging, Elderly,
Older person, Senior Citizen แล้วแต่จะใช้ etc.
ความหมาย
ผู้สูงอาย
หมายถึง บุคคลที่มีอายุเกินกว่า 60 ปี บริบูรณ์ขึ้นไปและมีสัญชาติไทย (พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ.2546)
ผู้สูงอาย
คือประชากรทั้งเพศหญิงและเพศชายที่มีอายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไป (องค์การสหประชาชาติ)
ยุโรป/อเมริกา
คือประชากรทั้งเพศหญิงและเพศชายที่มีอายุมากกว่า 65 ปีขึ้นไป (WHO,2017)
ระดับความสูงอายุ
วัยต้น (young-old) ช่วยเหลือตัวเองได้
60-69 ปี
วัยกลาง (medium-old) เริ่มอ่อนแอ มีโรคประจําตัว
70-79 ปี
วัยปลาย (old-old) อวัยวะเสื่อมสภาพ เจ็บป่ วยบ่อยขึ้น
มากกว่า80 ปี
ระดับสังคมผู้สูงอาย
Aging
Society
การมีประชากรสูงอายุ 60ปี ขึ้นไปมากกว่า 10% ของประชากรทั้งประเทศ หรือมีประชากรต้ังแต่อายุ 65 ปี เกิน 7 เปอร์เซนต์ ของสมาชิกทั้งประเทศ
Aged
Society
เมื่อมีประชากรอายุ 60 ปี ขึนไปเพิ่มขึ้นเป็ น 20% หรือประชากรอายุ 65 ปี ขึนไป เพิ่มเป็ น 14% ของประชากรทั้งประเทศ
SupperAged
Society
สังคมที่มีประชากรอายุ 65 ปี ขึนไปมากกว่า 20% ของประชาการทั้งประเทศ
สถิติทางด้านประชากร
1.สถิติประชากรปี พ.ศ.2503-2543 ประชากรวัยทารกและวัยเด็กมากที่สุด แต่ประชากรสูงอายุ มีสัดส่วนน้อยมาก
และจํานวนประชากรสูงอายุเพิ่มขึ้น ตั้งแต่ปีพ.ศ.2503-2563
สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย
ปี2523 ประชากรรวม 26.2ล้านคน มีผู้สูงอายุ 1.5 ล้านคน (5.4%)
ปี2553 ประชากรรวม 67.3ล้านคน มีผู้สูงอายุ 7.5 ล้านคน (11.5%)
อายุคาดหมายเฉลี่ยเมื่ออายุ60 ปี ขึนไป เพศหญิง23.2 ปี เพศชาย20.0 ปี
(จํานวนปี เฉลี่ยที่คาดว่าผู้ที่มีอายุ 60 ปี จะมีชีวิตอยู่ต่อไปอีกกี่ปี)
วิเคราะห์ปัจจัยและผลกระทบจากปิ รามิดประชากร
1.ประเทศไทยเป็ นสังคมสูงอายุระดับไหน? เมื่อไร?
2.ปิรามิดประชากรในปี 2563/2576 จะต่างจากปิ รามิดก่อนหน้านี้อย่างไร?
3.ปิรามิดประชากรบอกอะไรท่านบ้าง อย่างไร?
หน่วยงานที่ร่วมดูแลผุ้สูงอายุในประเทสไทย
หน่วยงานที่ดำเนินงาน
1.กระทรวงสาธรณะสุข
2.กระทรวงพัฒนาสังคมเเละความมั่นคงของมนุษย์
3.กระทรวงมหาดไทย
4.กระทรวงเเรงงาน
หน่วยเกี่ยวกับข้อมูลและวิจัยผู้สุงอายุ
1.สภาวิจัยเพื่อพัฒนาประเทศไทย
2.สภาวิจัยผุ้สูงอายุไทย
3.สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหิดล
วิทยาลัยประชากรสาสตร์ จุฬา
หน่วยงานวางแผนผู้สูงอายุ
1.สำนักงานสถิติแห่งชาติ
2.สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
สภาผู้สูงอายุ
พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ.2546
ได้บัญญัติให้ผู้สูงอายุได้รับการคุ้มครอง ส่งเสริมและสนับสนุนตามกฏหมายตามมาตรา 11
2.ได้รับการศึกษา การศาสนาและข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชนืต่อการดำเนินชีวิต
1.ได้รับริการทางการเเพทย์และการสาธารณสุขที่จัดไว้โดยให้ความสะดวกและรวดเร็วแก่ผู้สูงอายุเป็นกรณีพิเศษ
3.ได้รัการส่งเสริมการประกอบอาชีพหรือฝึกอาชีพที่เหมาะสม
4.ได้รับการพัฒนาตนเอง และการมีส่วนร่วมในกิจกรมมทางสังคม การรวมกลุ่มในลักษณะเครือข่ายชุมชน
5.ได้รับการอำนวยความสะดวกและความปลอดภัยโดยตรงแก่ผู้สูงอายุในอาคาร สถานที่ หรือบริการสาธารณะอื่น
6.ได้รับการช่วยเหลือด้านค่าโดยสารยานพาหนะตามความเหมาะสม
7.ได้รับการยกเว้นค่าเข้าชมสถานที่ของรัฐ
8.ได้รับการช่วยเหลือในกรณีที่ได้รับอันตรายจากการถูกทารุณกรรมหรือถูกแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบด้วยกฏหมายหรือถูกทอดทิ้ง
9.ได้รับการให้คำแนะนำ ปรึกษา หรือดำเนินการอื่นที่เกี่ยวข้องในทางคดีหรือในทางคดีในทางแก้ไขปัญหาครอครัว
10.ได้รับการจัดหาที่พักอาศัย อาหาร และเครื่องนุ่งห่มให้ตามความจำเป็นอย่างทั่วถึง
11.ได้รับการสังเคราะห์เบี้ยยังชีพตามความจำเป็นอย่างทั่งถึงและเป้นธรรม
12.ได้รับการสงเคราะห์ในการจัดการศพตามประเพณี
13.ได้รับบริการอื่นๆ ตามที่กรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติประกาศกำหนดนอกจากนี้ยังได้บัญญัติให้ผู้เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ ได้รับสิทธิทางภาษีตามมาตรา 46 และ 17 ดังนี้
16.ผู้ที่บริจาคเงินหรือทรัพสินให้เเก่กองทุนผู้สูงอายุแห่งชาติ มีสิทธินำใบลดหย่อน ในการคำนวณภาษีเงินได้ หรือได้รับการยกเว้นภาษีสำหรับทรัพย์สินที่บริจาคแล้วแต่กรณี
17.ผู้ที่อุปการะเลี้ยงดูบุพการีซึ่งเป็นผู้สูงอายุที่ไม่มีรายได้เพียงพอต่อการยังชีพ มีสิทธิได้รับการลดหย่อนภาษีตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กำหนดในประมวลรัษฎากร
นโยบายด้านสาธารณสุข
1.พัฒนางานสาธารณสุข ตามเเนวพระราชดำริ และโครงการเฉลิมพระเกียรติเพื่อเทิดพระเกียรติพระบรมวงศานุวงค์
2.เพิ่มคุณภาพระบหลักประกันสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการที่มีคุณภาพ มาตรฐาน ทั่วถึง เป็นธรรม สร้างระบบบริหารจัการที่มีเอกภาพ
3.เร่งรัดมาตรการสร้างสุขภาพโดยมีเป้าหมาย เพื่อลดอัตราป่วย ตาย และผลกระทบจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดัน หัวใจ หลอดเลือดสมอง และมะเร็ง
4.เร่งรัดดำเนินการคุ้มครองผู้บริโภคด้าานสุขภาพ ตลอดจนอาหารปลอดภัย
5.เตรียมความพร้อมพัฒนาระบบเฝ้าระวัง เตือนภัย การจัดการที่มีประสิทธิภาพ ทันการณ์เมื่อเกิดภัยพิบัติโรคระบาด และภัยธรรมชาติ
6.จัดให้มีการดูแลกลุ่มเป้าหมายเฉพาะได้แก่ กลุ่มเด็ก กลุ่มสตรี กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้พิการ รวมถึงกลุ่มเป้าหมายเฉพาอื่น เช่น เเรงงานข้ามชาติ
7.สร้างแรงจูงใจและพัฒนาขีดความสามารถของอาสาสาธารณสุขทุกคนโดยสนับสนุนอุปกรณ์พื้นฐานที่จำเป็นในการปฏิบัติภารกิจ
8.สร้างเเรงจูงใจแก่บุคลากรสาธารณสุขทุกระดับและความก้าวหน้าในวิชาชีพที่เป็นธรรมสร้างกลไกพัฒนาสัมพันธ์ที่ดัระหว่างผุ้ให้และผู้รับริการ
9.เพิ่มการลงทุนในระบบการบริการุกระดับทั้งด้านโครงสร้างพื้นฐาน และอุปกรณ์การแพทย์ที่จำเป็นมุ่งเน้นการพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิทั้งในเขตเมืองและเขตชนบท
10.ส่งเสริมการใช้การแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือกในระบบบริการสาธาณสุขทุกระดับ
11.ส่งเสริมการจัดบริการสุขภาพนานาชาติ และระบบโลจิสตกส์ โดยไม่ก่อให้เกิดผลกระทบกับบริการสุขภาพโดยรวมของคนไทย
12.สนับสนุนคววามร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชนในการจัดการบริการสุขภาพ
13.พัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพให้มีคุณภาพ และบริการข้อมูลสุขภาพสำหรับประชาชน
14.พัฒนา ผลักดันและการบังคับใช้กฎหมายให้เอื้อประโยชน์ต่อการสนับสนุนการดำเนินงาน
องค์ประกอบของความสูงอาย
สิ่งที่ปรากฏเสมอ (universal)
ดําเนินไปอย่างต่อเนื่อง (progressive)
เป็ นความเสื่อม (detrimental)
ที่เกิดจากปัญหาภายใน (intrinsic factor)
-ความสูงอายุเป็ นความเสื่อมสภาพที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของปัจจัย
ภายในดําเนินไปอย่างต่อเนื่องและปรากฏให้เห็นได
-เกิดขึนกับทุกคน แต่ในอัตราเร็วช้าไม่เท่ากัน ขึ้นกับพันธุกรรม สิ่งแวดล้อม
้