Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การใช้ยาในผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
บทที่ 8 การใช้ยาในผู้สูงอายุ
ความสำคัญของการใช้ยาในผ้สูงอายุ
การใช้ยาเป้นสิ่งเดียวที่ต้องงให้ความสำคัญที่สุด เพราะเป้นเทคโนโลยีในการดูเเลสุขภาพ ที่ง่ายต่อการเข้าถึง โดยเฉพาะผู้สูงอายุ ควรให้ความสำคัญเพื่อป้องกันการเกิดความผิดพลาด จนทำให้เกิดการบาดเจ็บต่ออวัยวะ ความมพิการเเละเสียชีวิต
อาการบางอย่างที่เกิดขึ้นกับผุป่วยสูงอายุ บางครั้งสิ่งที่คสรคำนึงถึงเป็นอันดับแรก คือ เกิดจากความข้างเคียงในการใช้ยา
ข้อจำกัดการใช้ยาในผู้สูงอายุ
1.พฤติกรรมของผู้สูงอายุ
2.การเปลี่ยนแปลงร่างกาย physiological alterations
3.การใช้ขนาดยาไม่เหมาะสม inappropiate drug
การใช้ยาหลายตัว polypharmavy
สิ่งที่ควรคำนึง
อาการแสดงที่พยาบาลต้องเอาใจใส่เมื่อมีการใช้ยาบางชนิด
delirium
การใช้ยาที่กระตุ้นศูนย์Suprachiasmatic nucleus (SNC) ที่อยู่ใน hypothalamus ของสมอง (eg. Anticolinergic drugs)
falls and fractures
benzodiazepins,anti-hypertension drugs
urinary incontinence
eg. Diuretics
ยาที่ต้องระวังในผู้ป่วย
Alticholinergics และ ยาแกเเพ้
Chlorpheniramune (CPM
Cyproheptadine
Diphenhydramine
Hydroxyzine
ทำให้เกิดภาวะสมองเสื่อม ความจำเสื่อมช้าๆ มีคุณสมบัติ Alticholinergics ที่ค่อนข้างสูง จึงเเนะนำให้ใช้ยาแก้เเพ้กลุ่ม Nonanticholinergics
ยาต้านการซึมเศร้า กลุ่ม
Tricyclic antidepressant (TCA)
เช่น Amitryptyline
Doxepin
ทำให้เกิด Orthostatic Hypotention (ความดันตกเวลาเปลี่ยนท่าทาง) เสี่ยงต่อการหกล้มเเละกระดูกหัก ภาวะสมองเสื่อม และผลข้างเคียงจากฤทธิ์ Alticholinergics และง่วงนอนค่อนข้าางมาก
การใช้ยากลุ้ม barbiturates ถ้าใช้เกินขนาดจะ
กดการหายใจทำให้เสียชีวิตได้
ผู้สูงอายุที่มีโรคปอด เช่น ถุงลมโป่งพอง หอบหืดนอนกรนมาก ควรหลีกเลี่ยงยาช่วยหลับทุกตัวเพราะฤทธิ์กดระบบประสาทส่วนกลาง ศูนย์การหายใจถูกกด หยุดหายใจ
สำหรับยาต้านโรคจิตในกลุ่มออกฤทธิ์สูงต้องใช้
ขนาดต่ำ เช่น ยา Haloperidol
1.หลีกเลี่ยงการเกิดพิษและผลข้างเคียงจากยา
2.อาการ postural hypotension ปัสสาวะยาก
ปากแห้ง ท้องผูก
3.การใช้ยาในระยะยาวทำให้เกิดโรคพาร์คินสันได้
ผูู็สูงอายุที่มีการทำงานของตับบกพร่อง
ควรใช้ยาที่ไม่ถูกเปลี่ยนแปลงโดยผ่า phase 1
ยาที่ใช้ เช่น temazepam
ผู้สูงอายุที่ไม่มีโรคประจำตัวที่นอนไม่หลับ
1.ไม่ควรเริ่มด้วยการใช้ยาก่อน ควรแนะนำให้ปรับ
เปลี่ยนพฤติกรรมการนอนที่ถูกต้อง
2.ยาช่วยหลับที่เหมาะสม ได้แก่temazepam,
lorazepam, oxazepam เพราะไม่ทำให้เกิดผล
ตกค้างข้ามวัน
ยาคลายกล้ามเนื้อ และ ยาแก้ปวดเกร็ง
ทำให้เกิดผลข้างเคียงจากฤทธิ์ Alticholinergics ง่วงซึมอ่อนแรรง
ยาแก้ปวดอักเสบ
มีผลต่อระบบประสาทส่วนกลางมากที่สุดในกลุ่มทำให้สับ มึนงง และระคาบกระเพาะ
nกลุ่มยาระงับปวดชนิดเสพติด จะมีผลกดศูนย์การหายใจของผู้สูงอายุไวกว่าวัยผู้ใหญ
ยาระงับปวด ลดอักเสบ ที่ไม่ใช่สเตียรอยด์(NSIDs) หากใช้ในผู้สูงอายุจะเสี่ยงต่อการเกิดแผลในระบบทางเดินอาหาร ได้มาก รวมทั้งมีรายงานพบว่า เกิด พิษต่อตับผู้สูงอายุบ$อยขึ้น ถ้าใช้นานๆ อาจเกิดภาวะกระดูกพรุน
ยาที่มีผลต$อหัวใจและหลอดเลือด
(cardiovascular drugs)
กลุ่มยาลดความดันโลหิต เช่น ยาในกลุ่ม thiazides ซึ่งเป็นยาที่มักเลือกใช้เป็นอันดับแรกในผู้สูงอายุ อาจทำให้เกิด
ภาวะโปแตสเซียมต่ำ (K)
ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง
ภาวะ Metabolic Alkalosis
การได้รับยาลดความดันโลหิตอาจทำให้เกิดอาการหน้ามืด เป็นลม เมื่อเปลี่ยนอิริยาบถ (postural hypotension)
กลุ่มยารักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ โดยเฉพาะยาในกลุ$ม cardiac glycosides
Digoxin เป็นยาใช้ในการรักษาที่พบบ่อย ส่วนใหญจะถูกขับออกทางไตในรูปที่ไม่เปลี่ยนแปลง ดังนั้นจึงมีผลทำให้เกิดพิษจากยาได้ง่าย
โดยเฉพาะอาการหัวใจเต้นผิดจังหวะ (arrhythmia)เป็นอันตรายถึงชีวิตได้
ยาต้านจุลชีพ (antimicrobial drugs)
ยากลุ่มนี้เมื่อเข้าสู่ร่างกายผู้สูงอายุ อาจทำให้เกิดพิษและผลข้างเคียงทีไม่พึงประสงค์ได้ง่ายและรุนแรง โดยเฉพาะยาปฏิชีวนะที่ถูกขับออกทางไต และทำให้เกิดพิษต่อไต เช่น
กลุ่ม Aminoglycoside ยาจะมีค่าครึ่งชีวิตนานขึ้นเป็น 2เท่า
Gentamicin , Kanamycin พบได้ใน แผนกศัลยกรรม หรือ ในรพ.สต. นอกไกลๆ อาจยังใช้อยู่
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
(Hypoglycemic agents)
ผู้สูงอายุควรหลีกเลี่ยงการใช้ยา chlorpropamide เพราะ เป็นยาออกฤทธิ์ยาวนาน อาจเพิ่มความเสี่ยงเกิดภาวะ น้ำตาลในเลือดต่ำ ค่าโซเดียมในเลือดต่ำได้
ส่วนผู้สูงอายุที่มีอายุมากกว่า 80 ปี ควรหลีกเลี่ยงMetformin เพราะในผู้สูงอายุมักมีการทำงานของไตลดลงโดยเฉพาะในผู้ที่มี creatinine clearance <50 ml./minอาจเกิดเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิด Lactic Acidosis ได้งSาย