Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของการสูงอายุ - Coggle Diagram
บทที่ 4 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของการสูงอายุ
1.ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญต่อกระบวนการสูงอายุ
ปัจจัยภายใน : สุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ พันธุ์กรรม ประสบการณ์ชีวิต ความเชื่อและวัฒนธรรม
ปัจจัยภายนอก: การศึกษา เศรษฐานะ วิถีการดำเินชีวิต สิ่งแวดล้อม ความเครียและการเกษียณอสยุจากการทำงาน
1.1 ปัญหาทางด้านสุขภาพกาย
ผุ้สูงอายุมักมีปัญหาด้านสุขภาพเสื่อมโทรมมีโรคภัยต่างๆเบียดเบียนทั้งโรคทางกานและทางสมอง
1.2 ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ
ผู้สูงอายุที่มีฐานะไมดี ไม่มีลูกหลานอุปการะเลี้ยงดูอาจจะไม่มีรายได้หรือรายได้ไม่เพียงพอสำหรับเลี้ยงชีพ ไม่มีที่อยู่อาศัยทำให้ได้รับความลำบาก สุขภาพทรุดโทรม
1.3 ปัญหาทางด้านความรู้
ผู้สูงอายุไม่มีโอกาสได้รับความรู้เพื่อการพัฒนาตนเองให้เหมาะสมกับวัย
สังคมที่เปลี่ยนแปลงไป เพื่อให้เข้ากันได้กับเยาวชนรุ่นใหมโดยเฉพาะผู้สูงอายุไทยที่มีการศึกษาน้อยมักจะขาดความรู้พื้นฐสนในการพํฒนาความรู้
1.4 ปัญหาทางด้านสังคมและวัฒนธรรม
ผู้สูงอายุอาจจะไม่ได้รับการยกย่องจากสังคมเหมือนเดิมโดยเฉพาะผู้ที่เคยเป็นข้าราชการตำแหน่งสูงซึ่งเคยมีอ านาจและบริวารแวดล้อม เมื่อเกษียณอายุราชการอาจเสียดายอำนาจและตำแหน่งที่เสียไป
1.5 ปัญหาทางด้านจิตใจ
ผู้สูงอายุจะไม่ได้รับความเอาใจใส่และความอบอุ่นจากลูกหลานอย่างเพียงพอ ทำให้รู้สึกว้าเหว่ อ้างว้างและอาจมีควมวิตกกังวลต่างๆ
1.6 ปัญหาเกี่ยวกับครอบครัว
ปัญหาผู้สูงอายุที่น่าเป็ นห่วง คือ การเปลี่ยนแปลงทางสังคมแลวัฒนธรรมในอดีตจะเป็นครอบครัวใหญ่ที่เรียกว่า ครอบครัวขยายทำให้มีความสัมพันธ์แน่นแฟ้นและเกิดความอบอุ่นระหว่างพ่อแม่และลูกหลาน
1.7 ปัญหาค่านิยมที่เปลี่ยนแปลง
ปัจจุบันความเปลี่ยนแปลงจากภาวะทางด้านเศรษฐกิจและสังคมทำให้เยาวชนมีความกตเวทีต่อพ่อแม่ ครูอาจารย์น้อยลง ผู้สูงอายุไม่ได้รับการดูแลต้องอาศัยสถานสงเคราะห์คนชรา
2.2 ระบบประสาทและประสาทสัมผัส (Nervous system and Special senses)
ซลล์สมองและเซลล์ประสาทมีจ านวนลดลงเรื่อยๆทำให้น้ำหนักสมอองลดลงร้อยละ 10
ความจำเสื่อมโดยเฉพาะเรื่องราวใหม่ๆ (recent memory)
เพราะความสามารถในการเก็บข้อมูลลดลง
ความสามารถในการเรียนรู้เรื่องใหม่ๆ ลดลง
การคำนวณใน
ด้านต่างๆ เสื่อมลง แต่ยังสามารถทำงานที่เคยมีประสบการณ์มาแล้วได้ดี
แบบแผนการนอนเปลี่ยนแปลง
นอนหลับไม่ลึกเวลานอนน้อยลง เวลาตื่นมากขึ้น
การนอนหลับในผู้สูงอายุอยู่ในระดับลึกเพียงระดับ 3
นอนไม่หลับในผู้สูงอายุอาจเนื่องมาจากร่างกายขาดการออกก าลังกาย นอนกลางวันมากเกินไป และมีความกังวลในเรื่องต่างๆมากขึ้น
ลูกตามีขนาดเล็กลงและลึกเพราะไขมันของลูกตาลดลง
หนังตามีความยืดหยุ่นลดลงท าให้หนัง ตาตก รู
ม่านตาเล็กลง
ปฏิกิริยาตอบสนองของม่านตาตอแสงลดลง ท าให้การปรับตัวส าหรับการมองเห็นในสถานที่ต่างๆ
ไม่ด
แก้วตาแข็งยืดหยุ่นลดลงและเริ่มขุ่นมัวมีสีเหลืองมากขึ้นทำให้ความสามารถในการเทียีลดลง
2.3 ระบบกล้ามเนื้อ (Musculoskeletal system)
มื่อเข้าสู่วัยหลังอายุ30ปี จำนวนและและขนาดเส้นใยดฃกล้ามเนื้อลดลงไขมันและคอลลาเจนเข้าแทนที่มากขึ้น มีการสะสมของสารไลโปฟัสซินมากขึ้้นกำลังการหดของกล้าเนื้อลดลงร้อยละประมาณ 12-15
หลังอายุ40ปีอัตราการเสื่อมของกระดูกจะมากกว่าอัตราการสร้าง
เซลล์กระดูกลดลง แคลเซียมมีการสลายออกจากกระดูกมากขึ้น
ในเพศหญิงสาเหตุที่่ส าคัญอีกประการหนึ่งคือฮอร์โมนเอสโตรเจน ซึ่งออกฤทธิ์ กระตุ้นการทำงานของ Osteoblast ลดลงหลังหมดประจำเดือนทำให้แคลเซียมสลายจากกระดูกร้อยละ2-3ต่อปี
ความยาวของกระดูกสันหลังลดลง
เพราะหมอนรองกระดูกสูญเสียน้ำและบางลง
กระดูกสันหลังผมากข้ึน
ทำให้หลังค่อม(kyphosis) หรือหลังเอียง(scoliosis)มากข้ึน
บริเซณข้อเกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งรูปร่างและส่วนประกอบ
ข้อใหญ่ขึ้นน กระดูกอ่อนบริเวณข้อต่างๆ บางลงและเสื่อมมากขึ้นตามอายุ
น้ำไขข้อลดลง เป็ นเหตุให้กระดูกเคลื่อนที่มาสัมผัสกัน
2.4 ระบบการไหลเวียนเลือด (Cardiovascular system
ในผู้สูงอายุลักษณะโครงสร้างและขนาดของหัวใจอาจไม่เปลี่ยนแปลง กล้ามเนื้อหัวใจฝ่อลีบผังพืดไขมันแลัสารไลโปฟัสซินมาสะสมภายในเซลล์มากขึ้น
หลอดเลือดเปลี่ยนแปลงไปในทางเสื่อมมากขึน
ผนังหลอนเลือดฝอยหนาขึ้นทำให้การเเลกเปลี่ยนอาหารและของเสียลดลง
ผนังหลอดเลือดมีความยืดหยุ่นน้อยลง
เส้นใยอีลาสตินมีแคลเซียมมาเกาะมากขึ้น ทำให้เกิดภาวะหลอดเลือดแดงเเข็งตัว
เลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆลดลง
จะพบมากบริเวณสมอง หัวใจและไต ทำให้อวัยวะเหล่านี้ทำงานลดลง
ระบภูมิคุ้มกันของร่างกายทำงานลดลง
ทำให้เกิดการติดเชื้อได้ง่าย
2.5 ระบบทางเดินหายใจ (Respiratory system)
หลอดลมและปอดมีขนาดใหญ่ขึ้น ความยืดหยุ่นของปอดลดลง
เพราะมีเส้นใยอีสาลตินลดลงความกำลังการหดตัวของกล้ามเนื้อที่ช่วยในการหายใจเข้าหายใจออกลดลง
การเปลี่ยนแปลงของกระดูกสันหลังและกระดูกซี่โครงตามวัยจะทำให้ทรวงอกมีลักษณะผิดรูปผนังทรวงอกแข็งขึ้น
การเคลื่อนไหวของกระดูก
ซี่โครงลดลงเพราะมีแคลเซียมมาเกาะที่กระดูกอ่อนชายโครงมากขึ้น
ถุงลมมีจำนวนลดลง
ถุงลมที่เหลือจะมีขนาดใหญ่ขึ้น
ผนังถุงลมแตกง่ายเนื่องจากเนื้อเยื่อเกี่ยวพันธ์ที่ห่อหุ้มถุงลมลดลง
การไหลเวียนของเลือดในเส้นเลือดฝอยที่ถุงลมหรือการกำซาบเลือด(perfusion)ลดลง
2.1 ระบบผิวหนัง (Integumentary system)
การเปลี่ยนแปลงในระบบผิวหนังมีอิทธิพลมาจาก พันธุกรรม ภาวะสุขภาพ อาหาร การเปลี่ยนแปลงที่พบคือ
วัยสูงอายุเซลล์ผิวหนังมีจ านวนลดลงและเซลล์ที่เหลืออยู่จะเจริญเติบโตช้า
อัตราการสร้างเซลล์ใม่ขึ้นมาทดแทนลดลง 50 เปอร์เซนต์
การไหลเวียนเลือดที่ผิวหนังลดลง
เมื่อมีแผลจึงมีโฮกาสแผลหายยาก
มีโอกาสเกิดแผลกดทับสูง
ทนต่ออากาศหนาวเย็นไม่ได้
ต่อมเหงื่อขนาดลงลง
ทำให้การทำงานลดลงทำให้ไม่สามารถขับเหงื่อได
การระบายความร้อนโดยการระเหยจึงไม่ดีท าให้การควบคุมอุณหภูมิของร่างกายเลวลงเกิดอาการลมแดด(Heat stroke)
ต่อมไขมันทำงานลดลงทำให้ผิวหนังแห้ง คัน และแตกง่าย
ผมและขนมีจำนวนลดลง
ทำให้ผมและขนทั่วไปมีสีจางลงกลายเป็นสีเทาหรือสีขาว
ส้นผมร่วมและแห้งง่ายเนื่องจากการ
ไหลเวียนเลือดบริเวณหนังศีรษะลดลง
เล้บแข้งและหนาขึ้น
อัตราการเจริญของเล็บลดลง
มุมที่โคลนเล็บกล้างมากขึ้น สีเล้บเปลี่ยนเป็นสีเหลืองมากขึ้น
การรับความรู้สึกต่ออุณหภูมิ การสั้นสะเทือนเเละความเจ้บปวดที่ผิวหนังลดลง
2.6ระบบย่อยอาหาร(Digestion System)
ฟันของผู้สูงอายุไม่แข็งแรง เคลือบฟันบางลงแตกง่าย และมีสีคล้ำขึ้นเพราะมีการดูดซึมสารที่มีสีเข้าไปสะสมมากขึน
เหงือกที่หุ้มคอฟันร่นลงทำให้เห็นฟันมากขึ้น
เซลล์สร้างฟันลดลลงมีผังผืดเข้ามาแทนที่มากขึ้นทำให้การสร้างฟันลดลงทั้งปริมาณและคุณภาพ
ซลล์บริเวณหลอดอาหารของผู้สูงอายุเปลี่ยนแปลงเซลล์เยื่อบุชนิดแท่ง(columner epithelium)ลดลงและมีเซลล์เยื่อบุชนิดแบนเข้ามาแทนที่
การเคลื่อนไหวของหลอดอาหารลดลง
หลอดออาหารมีขนาดกว้างขึ้น เนื่องจากกล้ามเนื้อบริเวณเวรหูรูดปลายหลอดอาหารหย่อนตัวและทำงานช้าลง
การเคลื่อนไหหวของกระเพาะอาหารลดลง เนื่องจากความตึงตัวของกล้ามเนื้อในกระเเพาะอาหารลดลง
การไหลเวียนเลือดตลอดทางเดินอาหารลดลงหลอดเลือดบางแห่งโป่งพอง ทำให้มีโอกาสตกเลือดในกระเพาะอาหารได้ง่าย
เยื่อบุทางเดินอาหารบางลงและเสื่อมหน้าที่เนื่องจากการแบ่งตัวของเซลล์ลดลงซึ่งจะพบมากบริเวณลำไส้เล็กส่วนต้นเป็ นเหตุให้การย่อยและการดูดซึมอาหารต่างๆในลำไส้เล็กไม่ด
ขนาดน้ำหนักของตับลดลงเซลล์ตับมีจำนวนลดลง ผังผืดเข้ามาเเทนที่มากขึ้น
2.7 ระบบทางเดินปัสสาวะและระบบสืบพนัธ์ุ (Urinary and Reproductive System)
ขนาดของไตเล็กลงเหลือประมาณ1ใน5ของขนาดเดิม อัตราการกรองของเสียของไตลดลงขนาดน้า หนักไตลดลงประมาณร้อยละ 30 และหน่วยไตมีจ านวนลดลงร้อยละ30-40 เมื่ออายุ 25-85ปี หน่วยไตที่เหลือจะใหญ่ขึ้น
กล้ามเน้ือกระเพาะปัสสาวะอ่อนกำลังลงการบีบตัวของกระเพาะปัสสาวะลดลง
กระเพาะปัสสาวะทำงานลดลงทำให้มีปัสสาาวะค้างในกระเพาะปัสสาวะมากขึ้น
เพศหญิงรังไข่จะฝ่อเล็กลง ผิวรังไข่ซีดขาวลง และย่นมากขึ้น
มดลูกแบนเรียบปราศจากขน มดลูกมีขนาดเล็กลง เยื่อบุภายในมดลูกบางลงมีเนื้อเยื่อผังผืดมากขึ้น
ปากมดลูกเหี่ยวและขนาดเล็กลงไม่มีเมือกหล่อลื่น ช่องคลอดแคบและสั้นลงเยื้อบุช่องคลอดสั้นลง ท าให้ผลิตสารหล่อลื่นได้น้อยลง
รอยย่นและความยืดหยุ่นของช่องคลอดลดลง เป็น
เหตุให้เกิดความรู้สึกเจ็บในระหว่างร่วมเพศและความรู้สึกทางเพศลดลง
2.8 ระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine System
น้ำหนักต่อมใต้สมองลดลงร้อยละ 20 การไหลเวียนเลือดที่ต่อมใต้
สมองลดลง
การผลิตฮอร์โมนต่างๆลดลง ต่อมไทรอยด์ มีเนื้อเยื่อผังผืผมาสะสมมากขึ้น
การทำงานของต่อมไทรอยด์ลดลงตามอายุเนื่องจากกลไกการกระตุ้นต่อมไทรอยด์จาก TSH ล้มเหลว
ต่อมพาราไทรอยด์ทำงานลดลงตามอายุ
การทำงานของฮอร์โมนพาราไทรอยด์เพิ่มขึ้นในผู้สูงเพราะระดับเอสโตรเจนซึ่งออกฤทธิ์ ต้านการท างานของฮอร์โมนพาราไทรอยด์มีระดับลดลง
3.การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ
การเปลี่ยนแปลงที่พบบ่อยในผู้สุงอายุ
คือ อาการ เช่น ซึมเศร้า เครียด วิตกกังวล นอนไม่หลับ เป็ นต้น ภาวะสมองเสื่อม ปัญหาทางเพศ รวมถึงกลุ่มอาการทางจิต เช่น โรคจิตเภท โรคอารมณ์แปรปรวน โรคหลงผิด ภาวะจิตฟั่นเฟือน ภาวะสมองเสื่อม อาการหวาดระเเวงมีสาเหตุมาจาก
3.1 การเกษียณอายุการทำงาน
บทบาทหน้าที่การงานของตนเองเปลี่ยนแปลงไปหรือหายไป ทำให้ผู้สูงอายุไม่ได้รัการยกย่องเหมือนเดิม
3.2 การเสื่อมถอยทางร่างกาย
เช่น สูญเสียการได้ยิน การมองเห็น การรับรู้รส การสัมผัส ช่วยเหลือตัวเอง
3.3 ด้านความสัมพันธ
ซึ่งเป้นสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงด้านอารมณ์
3.4 การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย
ใจสั่นเเน่นหน้าอก หายใจไม่ทั่วท้องอ่อนเพลีย หายใจไม่ออกเบื่ออาหาร
3.5 การเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์
วิตกกังวล ขาดความเชื่อมั่นในตนเอง
3.6 การเปลี่ยนแปลงทางความคิด
คิดซ้ำซาก คิกย้ำทำ กลัว ลัง เล หมกมุ่นในเรื่องของตัวเอง
3.7 พฤติกรรม
เอาเเต่ใจ จู้จี้ขี้บ่น อยู่ว่างๆ ไม่ได้เข้าไปก้าวก่ายชีวิตผุ้อื่น