Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดที่มีอาการเขียว - Coggle Diagram
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดที่มีอาการเขียว
Tetralogy of Fallot (TOF)
พยาธิสภาพ
เนื่องจากมีการอุดก้นั ventricle ขวาจาก PS และมีVSD ดงัน้นั จึงมีเลือดลัดวงจรจากขวาไปซ้าย ในระดับ ventricle ท าให้หวัใจห้องล่างขวามีการทา งานมากข้ึน เด็กมีอาการเขียวจากการผสมกนัของ เลือดที่มีระดับออกซิเจนน้อย การเปลี่ยนแปลงการไหลเวียนน้ีทา ให้ร่างกายไดร้ับเลือดที่มีออกซิเจนตํ่า ร่างกายจึงมีการทดแทนโดยการสร้างเมด็เลือดแดงเพิ่มข้ึน (polycythemia) ทา ใหเ้ลือดมีความหนืดมากขึ้นเกิด thrombophlebitis emboli ได้ง่าย
อาการและอาการแสดง
เด็กส่วนใหญ่จะมีอาการเมื่ออายุประมาณ 3 – 6 เดือน ในตอนแรกจะพบว่ามีอาการเขียวเฉพาะเวลาเด็กออกกําลังกาย เช่น ดูดนม ร้องไห้ การเจริญเติบโตช้ากว่า ปกติ
ในเด็กที่เดินได้แล้ว มกัจะเหนื่อยง่าย เวลาเหนื่อยจะนั่งยองๆ (squatting) เนื่องจากเลือดไหลไป VSD ลดลง และไปปอดมากขึ้น ทำให้อาการเหนื่อยหอบลดลง บางรายเป็นมากจะเกิดภาวะ anoxic spells ร่วมดว้ย คือ กระสับกระส่าย ร้องกวน หยุดหายใจเป็นพกั ๆ หายใจแรงลึก ตัวเขียวมากขึ้น
การประเมินสภาพ
Lab : พบ Hct/ Hb สูงขึ้น
การถ่ายภาพรังสีทรวงอก(chest x-ray) : พบหวัใจห้องล่างขวาโต pulmonary artery ที่ไปปอดขนาดเล็กกวา่ ปกติและหลอดเลือดไปปอดลดลง
การตรวจร่างกาย : นํ้าหนักและส่วนสูงน้อยกว่าปกติ: ตัวเล็ก ผอมกว่าปกติ ปากและเล็บเขียว นิ้วมือและนิ้วเท้าปุ้ม (clubbing finger) ฟังพบ systolic ejection murmur
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ(EKG) : มี ventricle ขวาโต แกน QRS เบี่ยงเบนไปขวา
การซักประวัติ : ตามอาการ/เด็กโตช้า พัฒนาการไม่สมวัย นํ้าหนักน้อย
คลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ (echocardiogram) : พบ atrium ขวาโต ventricle ขวาหนา aorta คร่อม VSD pulmonary valve เล็ก
การรักษา
1.การรักษาทั่วไป
1.2 ให้ยาป้องกัน infective endocarditis ถา้ผูป้่วยผา่ ตดั หรือถอนฟัน หรือได้รับการตรวจพิเศษต่างๆ ซ่ึงทา ใหเ้กิดภาวะติดเชื้อเข้าไปในระบบไหลเวียนโลหิต
1.3 ป้องกนัการเกิดภาวะเส้นเลือดในสมองแตก (cerebrovascular accident : CVA) ไม่ปล่อยให้เด็กเกิดภาวะเลือดจางโดยการให้ยาเสริมธาตุเหล็ก หรือให้เลือด และไม่ให้เด็กเกิดภาวะเม็ด
เลือดแดงมากเกินไป
1.1 ดูแลสุขวิทยาทวั่ ไป : รักษาสุขภาพฟัน อาหารที่เหมาะสม ให้ได้รับภูมิคุม้กันตามปกติ
1.4 รักษาภาวะ anoxic spells โดยการให้นอนท่าknee-chest position (นอนควํ่ายกก้นสูงมากกว่าเหยียดแขนขา) เพื่อลด systemic venous return ให้ออกซิเจน ให้ยาPropanolol ซึ่งเป็น Beta adrenergic blocking agentและให้ NaHCO3 1-2 mEq/kg. เข้าหลอดเลือดด าช้าๆ
2.การรักษาทางศัลยกรรม โดย ทำการต่อระบบไหลเวียน เพื่อเพิ่มปริมาณเลือดไปปอด ให้มากขึ้น
การพยาบาล
ในรายที่มีอาการป่วยไม่รุนแรงควร ให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการดูแลเด็ก
ในเด็กโตอธิบายถึงความจําเป็นในการนอนพักบนเตียง จัดสิ่งแวดล้อมให้จัดกิจกรรมเพื่อเบี่ยงเบนความสนใจใหเ้หมาะกบัวยัและอาการของผู้ป่วย
กระตุ้นให้ญาติมีเวลาอยู่กับผู้ป่วย
ให้ได้รับการพักผ่อนเต็มที่ตามแผนการรักษา
ให้ความสนใจดูแลผู้ป่วยอย่างใกลชิด
Transpositionof the Great Vessels (TGV)
พยาธิสรีรวิทยา
จากการที่หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงร่างกาย(aorta)ออกจาก ventricle ข้างขวาและหลอดเลือดที่ส่งเลือด ไปรับออกซิเจนที่ปอด (pulmonary artery) ออกจาก ventricle ข้างซ้าย ซึ่งรับเลือดแดงจาก atrium ข้างซ้าย ผู้ป่วยจึงไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้ถ้าไม่มีช่องทางติดต่อให้เลือดทั้ง 2วงจรมีการผสมกัน ซึ่งถ้าผสมกัน ไม่เพียงพอ อาการเขียว (cyanosis) เป็นอาการปรากฏที่สำคัญ ของการมีเลือดผสมไม่เพียงพอ ปัญหาในผู้ป่วย
TGV คือเขียวเรื้อรัง และมีเม็ดเลือดแดงเพิ่มขึ้น ผู้ป่วยอาจจะเสียชีวิตจากการขาดออกซิเจน ถา้ไม่ได้รับการ ผ่าตัด ส่วนใหญ่จะเสียชีวติก่อน 1 ปี ซึ่งสาเหตุการตายที่สำคัญคือ Hypoxemia ดังนั้น ในรายที่มี left to right
shunt และมี pulmonary stenosis พอเหมาะจะไม่เกิดภาวะหัวใจวาย สามารถมีชีวติอยู่ได้จนเป็นผู้ใหญ่
อาการและการแสดง
ผูป้่วยส่วนใหญ่จะมีอาการเขียวต้งัแต่ 2 –3วันแรกหลังคลอด หายใจเร็ว ดูดนมได้ช้า มีหัวใจวาย ตับโต เด็กจะเจริญเติบโตช้ากว่า ปกติ
การประเมินสภาพ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เด็กโต : Hb/Hct สูงกว่าปกติเนื่องจากไขกระดูกสร้างเม็ดเลือดแดงเพิ่มข้ึนเพื่อตอบสนองต่อภาวะขาดออกซิเจน
ถ่ายภาพรังสีทรวงอก(chest x–ray) : เงาหลอดเลือดในปอดเพิ่มข้ึน หอ้งหวัใจโต
การตรวจร่างกาย : พบอาการเขียว มี clubbing finger, พบ systolic ejection murmur, หัวใจเต้น เร็ว โตขึ้น, ตับโต
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG) : atrium และ ventricleข้างขวาโต ความดันในเส้นเลือดของปอดสูง
การซักประวัติ: มีอาการเขียว ดูดนมแลว้เหนื่อยง่าย
คลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ(echocardiogram)
การรักษา
การรักษาทวั่ ไป
ให้ Prostaglandin ในระยะหลงัคลอดใหม่ๆ จะทา ให้ductus arteriosus เปิดอยู่ต่อไป ทา ใหผ้ ปู้่วยเขียวนอ้ยลงและใหแ้พทยท์ า atrial septal defect โดยใช้ balloon catheter หรือการผ่าตัด
ให้ยา digitalis และ ยาขับปัสสาวะ
ให้ออกซิเจน และรักษาภาวะหัวใจวาย
ป้องกนัการติดเช้ือเขา้สู่หวัใจและภาวะขาดน้า
ดูแลสุขภาพฟัน
แนะนา อาหารที่ถูกตอ้ง ป้องกนัและรักษาภาวะเลือดจาง
การรักษาทางศัลยกรรม โดยการทะลุระหวา่งผนังก้น atrium ด้วย balloon เพื่อใหเ้กิด mixed blood มากขึ้น หรือทำการผ่าตัดเพื่อให้เกิดทางติดต่อระหวา่ง atrium ท้งัสอง เป็นต้น
การพยาบาล
ในรายที่มีอาการป่วยไม่รุนแรงควร ให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการดูแลเด็ก
ในเด็กโตอธิบายถึงความจําเป็นในการนอนพักบนเตียง จัดสิ่งแวดล้อมให้จัดกิจกรรมเพื่อเบี่ยงเบนความสนใจใหเ้หมาะกบัวยัและอาการของผู้ป่วย
กระตุ้นให้ญาติมีเวลาอยู่กับผู้ป่วย
ให้ได้รับการพักผ่อนเต็มที่ตามแผนการรักษา
ให้ความสนใจดูแลผู้ป่วยอย่างใกลชิด