Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ (Pathophysiology of Respiratory System),…
ความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
(Pathophysiology of Respiratory System)
ความสำคัญ
นำออกซิเจนจากบรรยากาศเข้าสู่ร่างกาย
โดยการหายใจเข้านำออกซิเจนสู่ถุงลม (Alveolar) ในปอดและมีการแลกเปลี่ยนก๊าซกับถุงลมกับเลือด เพื่อให้ออกซิเจนแก่เลือด ซึ่งนำไปใช้ทำปฏิกิริยากับสารอาหาร ได้พลังงาน สำหรับทำหน้าที่ของร่างกาย
ขจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจากการเผาผลาญ
ออกจากร่างกายโดยการหายใจออก
รักษาสมดุลกรดด่างในร่างกาย
กายวิภาคระบบทางเดินหายใจ
โครงสร้างของระบบทางเดินหายใจ
แบ่งออกเป็น 2 ส่วน
ทางเดินหายใจส่วนบน(upper airway)
โพรงจมูก
คอหอย (phalynx)
กล่องเสียง(larynx)
หน้าที่
เป็นทางผ่านของอากาศสู่ทางเดินหายใจส่วนล่าง
ป้องกันสิ่งแปลกปลอมเข้าสู่ทางเดินหายใจส่วนล่าง
ปรับอุณหภูมิและกรองความชื้น
ทางเดินหายใจส่วนล่าง(Lower airway)
หลอดลม(trachea)
หลอดลมเล็ก(bronchi)
หลอดลมฝอย(bronchiole)
ถุงลม (alveoli)
หน้าที่
เป็นทางผ่านอากาศเข้าสู่ถุงลม
สร้างน้้ำเมือกดักจับสิ่งแปลกปลอม
สร้างสารเคลือบผิว(surfactant)
อยู่บริเวณ alveolar cells ของปอดเพื่อไม่ให้ถุงลมแฟบขณะหายใจออก
โครงสร้างของอวัยวะที่เกี่ยวกับทางเดินหายใจ
ท่อทางเดินหายใจและปอด
Conducting zone เริ่มจาก trachea มาสิ้นสุดที่ terminal bronchiole
Respiratory zone เริ่มจาก respiratory bronchiole
กล้ามเนื้อหายใจ
กล้ามเนื้อหายใจเข้า
Diaphragm
External intercostal muscle
กล้ามเนื้อหายใจออก
Abdominal muscle
external oblique
internal oblique
rectus abdominis
transversus abdominis
Internal intercostal muscle
กลศาสตร์การหายใจ (Mechanic of respiration)
การหายใจเข้าและออกจากปอดเกิดจากความแตกต่าง
ระหว่างความดันบรรยากาศและความดันในถุงลม
โดยเวลาหายใจเข้าทรวงอกขยายความดันในถุงลมจะลดต่ำลง อากาศจึงไหลเข้าสู่ปอดจนกระทั่งความดันภายในปอดเพิ่มขึ้นเท่ากับความดันบรรยากาศ
ส่วนเวลาหายใจออกทรวงอกและเนื้อเยื่อปอดซึ่งมีความยืดหยุ่นจะหดตัวกลับสู่ปริมาตรเดิม ความดันภายในปอดจึงเพิ่มขึ้นจนมากกว่าความดันบรรยากาศ อากาศจึงไหลออกจากปอดสู่ภายนอก
กลไกลการหายใจ
ขณะหายใจเข้า
กะบังลมจะเลื่อนต่่ำลงกระดูกซี่โครงจะเลื่อนสูงขึ้น
ทำให้ปริมาตรช่องอกเพิ่มมากขึ้น
ความดันอากาศภายในบริเวณรอบๆ
ปอดลดต่ำลงกว่าอากาศภายนอก
อากาศภายนอกจึงเคลื่อนที่เข้าสู่
จมูก หลอดลม ไปยังถุงลมปอด
ขณะหายใจออก
กะบังลมจะเลื่อนสูงขึ้น
กระดูกซี่โครงจะเลื่อนต่่ำลง
ทำให้ปริมาตรของช่องอกลดน้อยลง
ความดันอากาศในบริเวณรอบๆ
ปอดสูงกว่าอากาศภายนอก
อากาศในถุงลมปอดจึงเคลื่อนที่จาก
ถุงลมปอดสู่หลอดลม ออกทางจมูก
ความต้านทานการหายใจ (Resistance of breathing)
Elastic resistance
ปอดและทรวงอก เป็นแรงต้านที่ทำให้ปอดและทรวงอกกลับสู่สภาพเดิมหลังจากที่มีการยืดขยาย โดย elastic resistance ของปอดจะแปรผกผันกับ compliance(C)
Airway resistance
เกิดจากการเสียดสีของโมเลกุลในอากาศด้วยกันเองกับทางเดินหายใจ airway resistance นี้ปกติจะมีค่าน้อย แต่ถ้ามีการหายใจเร็วขึ้น เช่น ขณะออกกำลังกาย หรือทางเดินอากาศมีขนาดเล็กลง เช่น Asthmaจะทำให้ airway resistance มากขึ้น
Tissue resistance
เกิดจากการเสียดสีของเนื้อเยื่อที่เคลื่อนไหวระหว่างการ
หายใจ มีค่าน้อยมาก ในคนปกติจะมีค่าเป็นศูนย์
การหายใจ
คือ
กระบวนการแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
เพื่อใช้ในกระบวนการเมตาบอลิซึมของเซลล์เนื้อเยื่อ
การหายใจภายนอก
(External respiration)
เป็นการทำงานของปอดมีการแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ระหว่างเลือดที่ไหลเวียนในปอดกับอากาศที่หายใจเข้าไป
การขนส่งก๊าซ
(Transport mechanism)
เป็นการขนส่งก๊าซออกซิเจนจากปอดไปยังเซลล์เนื้อเยื่อและขนส่งก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากเซลล์เนื้อเยื่อไปขับถ่ายออกทางปอด
การหายใจภายใน
(Internal respiration)
เป็นการแลกเปลี่ยนก๊าซที่
เกิดขึ้นที่เซลล์และเนื้อเยื่อ
การระบายอากาศและการไหลเวียนเลือดผ่านปอด
ในการหายใจเข้าหรือออกครั้งหนึ่งๆ ร่างกายจะได้รับอากาศเข้าหรือออกจากปอดเป็นส่วนๆ ตามปริมาตรและความจุของปอด
Tidal volume (TV)
ปริมาตรของอากาศในการหายใจเข้าหรือหายใจออกในครั้งหนึ่งๆ
ในผู้ใหญ่จะมีค่าปกติประมาณ 500 ml
Inspiratory reserve volume (IRV)
ปริมาตรของอากาศที่สามารถหายใจเข้าเพิ่มได้อีกจนเต็มที่ต่อจากการหายใจ เข้าตามปกติ
มีค่าประมาณ3,300 ml
Expiratory reserve volume (ERV)
ปริมาตรของอากาศที่สามารถหายใจออกได้อีกจนเต็มที่ต่อจากการหายใจออก ตามปกต
มีค่าประมาณ1,000 ml
Residual volume (RV)
ปริมาตรของอากาศที่ยังคงเหลือค้างอยู่ในปอด
หลังจากการหายใจออกอย่างเต็มที่
ความจุของปอด
Inspiratory capacity (IC)
ความจุของปอดที่คิดเป็นปริมาตรของอากาศที่หายใจ
เข้าไปได้เต็มที่หลังจากหายใจออกตามปกต
ผลรวมของ TV + IRV
ค่าประมาณ 3,800 ml
Functional residual capacity (FRC)
ความจุปอดที่คิดเป็นปริมาตรของอากาศ
คงเหลืออยู่ในปอดหลังจากหายใจออกตามปกติ
เป็นผลรวมของ ERV + RV
Vital capacity (VC)
ความจุของปอดที่คิดเป็นปริมาตรของอากาศหายใจออก
เต็มที่หลังจากการหายใจเข้าเต็มที่
เป็นผลรวมของ IRV + TV + ERV
ปกติมีค่าประมาณ 4,800 ml
Total lung capacity (TLC)
ความจุของปอดที่คิดเป็นปริมาตรของอากาศทั้งหมด
เมื่อหายใจเข้าเต็มที่
เป็นผลรวมของ VC + RV
ปกติมีค่าประมาณ 6,000 ml
การแลกเปลี่ยนก๊าซ (Gas exchange)
กระบวนการหายใจแบ่งได้ 4 ระดับ
การแลกเปลี่ยนก๊าซระดับปอด (Pulmonary gas exchange)
เป็นการแลกเปลี่ยนก๊าซระหว่างอากาศภายนอกและเลือดเพื่อรักษาระดับแรงดันย่อยของออกซิเจน
การแลกเปลี่ยนก๊าซระดับหลอดเลือดฝอย (Capillary gas exchange)
เป็นการแลกเปลี่ยนก๊าซระหว่างเลือดและเซลล์เนื้อเยื่อ
องค์ประกอบสำคัญคือ กลไกการขนส่งก๊าซในเลือด (gas transportation mechanism)
ปริมาณของเม็ดเลือดแดง หรือฮีโมโกลบิน (hemoglobin; Hb)
หากมีภาวะซีด (anemia) จะทำให้เกิดภาวะพร่องออกซิเจนได้
การมีเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อต่างๆอย่างเพียงพอ (adequate tissue perfusion)
การแลกเปลี่ยนก๊าซระดับเซลล์ (Cellular gas exchange)
เป็นการแลกเปลี่ยนก๊าซผ่านเข้าและออกจาก cell membrane
การแลกเปลี่ยนก๊าซระดับเซลล์ขนาดเล็ก (Subcellular gas exchange)
เป็นการแลกเปลี่ยนก๊าซเข้าและออกจากไมโตคอนเดรีย(mitochondria) รวมถึงการเมตาโบลิซึม (metabolism) ที่ใช้ออกซิเจนในเผาผลาญสารอาหารให้เป็นพลังงานและผลิตก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกมา
การแลกเปลี่ยนก๊าซระดับปอดจะเกิดขึ้นได้ปกติ มีองค์ประกอบดังนี้
Ventilation “V”
(การระบายอากาศ)
การที่อากาศผ่านเข้าและออกโดยการ
หายใจเอาอากาศเข้าไปแลกเปลี่ยนก๊าซที่ถุงลม (alveolar ventilation)
Diffusion
(การซึมผ่านของก๊าซ)
การที่ก๊าซออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ในถุงลมที่ปอดกับในเลือดซึมผ่าน (diffusion through alveolar capillary membrane)
Perfusion “Q”
(การไหลเวียนของเลือด)
การไหลเวียนของเลือดด าผ่านถุงลม
และรับก๊าซจากปอดไปยัง pulmonary vein สู่หัวใจด้านซ้าย
การประเมินสมรรถภาพของระบบหายใจ
(Pulmonary function test)
การตรวจสมรรถภาพปอด (Pulmonary Function Tests)
เป็นการตรวจที่สำคัญสำหรับการวินิจฉัย, ประเมินและติดตามผลการรักษาโรคระบบการหายใจ
โรคหืด
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
บ่งถึงการเสื่อมของการทำงานของปอดก่อนที่อาการแสดงทางคลินิกจะเริ่มปรากฏ เนื่องจากปอดเป็นอวัยวะที่มีความสามารถสำรองสูง วิธีสไปโรเมตรีย์ (Spirometry)
การประเมินสมรรถภาพการทำงานของปอด
(Pulmonary function test)
การประเมินสมรรถภาพของระบบการหายใจ (Pulmonary function test)
โดยใช้มาตรวัดปริมาตรอากาศหายใจเข้าและออก ที่ใช้บ่อย
Functional residual volume
คือปริมาตรของอากาศที่เหลืออยู่ในปอดหลังจากหายใจออก
ปกติมีค่าประมาณ 2,000-2500 cc
Tidal volume (TV)
คือปริมาตรอากาศที่หายใจเข้าหรือออกแต่ละครั้ง
ค่าประมาณ 500 cc
Force expiratory volume (FEV)
คือปริมาตรของอากาศที่หายใจออกเต็มที่
หลังจากหายใจเข้าเต็มที่ ในเวลา 1 วินาที (FEV 1.0)
มีค่าประมาณ 4,000 cc
FVC (Forced Vital Capacity)
คือปริมาตรของอากาศที่เป่าออกอย่างเร็ว แรงจนหมด หลังจากหายใจเข้าอย่างเต็มที่
ค่า FVC แสดงถึงปริมาตรอากาศที่จุอยู่ในปอดเกือบทั้งหมด (ประมาณเท่า vital capacity)
ค่าปกติจะมีค่ามากกว่า 80 % โดยค่า FVC จะต่ำลงในกรณี โรคที่ปอดมีขนาดเล็กกว่าปกติ(restrictive lung disease)
การประเมินก๊าซในหลอดเลือดแดง (Arterial blood gas)
การวิเคราะห์เลือดและวัดแรงดันส่วนของก๊าซ(Pressure:P)ก๊าซในเลือดแดงจะเป็นตัวบ่งชี้ว่าถุงลมปอดสามารถระบายอากาศและแลกเปลี่ยนกับเลือดได้พอเหมาะหรือไม่ ในภาวะร่างกายปกติ
ประเมินระดับออกซิเจนในเลือด
ตรวจดูดุลยภาพกรด ด่างในเลือด
การตรวจ Arterial blood gas ในผู้ป่วย
ผู้ป่วยหนักและรุนแรง ใน ICU
ผู้ป่วยในภาวะฉุกเฉิน
ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยออกซิเจน
ผู้ป่วยในระหว่างการดมยา
ผู้ป่วยภาวะหายใจล้มเหลว
ผู้ป่วยที่มีภาวะเสียสมดุลกรด ด่าง
ท้องร่วงรุนแรง
ได้รับสารพิษ
Arterial blood gas
PaO2 (Oxygenation ค่า 80 - 100 มิลลิเมตรปรอท )
บอกปริมาณออกซิเจนในเม็ดเลือดแดง
< 80 mild hypoxemia
< 60 moderate hypoxemia
< 40 sever hypoxemia
อายุมากกว่า 60 ปี PaO2 จะลดลง 1 มิลลิเมตรปรอททุก ๆ ปี
SaO2 ( ค่า 98 – 100 %)
บอกออกซิเจนและความเข้มข้นของออกซิเจนในเม็ดเลือดแดง
PH ความเป็นกรด-ด่างในเลือด (7.35-7.45)
มากกว่า 7.35 คือ acidosis
น้อยกว่า 7.45 คือ alkalosis
PaCO2 ( Ventilation function : บอกหน้าที่การทำงานของปอด = 35-45)
< 35 คือ Respiratory alkalosis : ภาวะด่างเกิดจากการหายใจ
น้อยกว่า 45 คือ Respiratory acidosis : ภาวะกรดเกิดจากการหายใจ
HCO3 ( Metabolic function = 22-26)
น้อยกว่า 26 คือ Metabolic alkalosis: ภาวะด่างเกิด Metabolism
มากกว่า 22 คือ : Metabolic acidosis ภาวะกรดเกิด Metabolism
Base excess ( BE ± 2.5) ยืนยันความเป็นกรด-ด่าง
BE มีค่า - เป็นภาวะกรด
BE มีค่า + เป็นภาวะด่าง
ขั้นตอนการวิเคราะห์ค่า Arterial Blood Gas : ABG
ขั้นที่ 1 ดูค่า pH (บอกค่า acid-base status)
หากค่า pH < 7.35 = acidosis , pH > 7.45 = alkalosis
ขั้นที่ 2 ดูค่า PaCO2 (บอกความผิดปกติของ Respiratory system)
หากค่า PaCO2 > 45 mmHg. = acidosis
PaCO2 < 35 mmHg. = alkalosis
ขั้นที่ 3 ดูค่า HCO3- (บอกความผิดปกติของ Metabolism system)
หากค่า HCO3- > 26 = alkalosis , HCO3- < 22 = acidosis
ขั้นที่ 4 พิจารณาการชดเชย
กรณีไม่มีการชดเชย (non compensation) ค่า PaCO2,HCO3- ค่าใดค่าหนึ่งเปลี่ยนอีกค่าปกติ แปลผลรวมเป็นไปในแนวทางของ pH (acidosis, alkalosis) ตามสาเหต
กรณีมีการชดเชย แบ่งได้เป็น 2 แบบ
ชดเชยบางส่วน (partly compensation)
pH ผิดปกติ และค่าPaCO2 , HCO3- เปลี่ยนแปลงตรงข้ามกัน คือค่าหนึ่งเป็นกรดอีกค่าเป็นด่าง
ชดเชยสมบูรณ์ (completely compensation)
pH อยู่ระหว่าง7.35 – 7.45 ใช้เกณฑ์ 7.40 ตัด หากค่า pH < 7.4 = acidosis ,pH > 7.4 = alkalosis
ขั้นที่ 5 ประเมินภาวะพร่องออกซิเจน ให้ดูจากค่า PaO2
61 – 80 = mild hypoxemia
40 – 60 = moderate hypoxemia
< 40 = severe hypoxemia
Acid-base status abnormal
Respiratory acidosis
Respiratory alkalosis
Metabolic acidosis
Metabolic alkalosis
ความผิดปกติของการหายใจ
การเปลี่ยนแปลงของระบบหายใจ มีสาเหตุส่วนใหญ่จากการทำหน้าที่ของทางเดินหายใจและปอดผิดปกติ ลักษณะทางคลินิกที่พบบ่อย
Dyspnea
plural pain
Abnormal breathing patterns
Hypoventilation and Hyperventilation
Cough
abnormal sputum
Hemoptysis
hypercapnia
Cyanosis
clubbing of finger or toe
ลักษณะหรือรูปแบบของการหายใจ (Pattern of Breathing)
Eupnea คือการหายใจปกติหรือเรียกว่า quiet breathing เป็นการหายใจตามปกติที่มีวงจรการหายใจเข้าและการหายใจออกติดต่อกันอยู่ตลอดเวลาโดยไม่มีระยะพักระยะเวลาของการหายใจออกจะนานเป็น 1.2 เท่าของระยะเวลาการหายใจเข้า
Tachypnea คือการหายใจเร็วเป็นการหายใจที่มีอัตราการหายใจเพิ่มขึ้นตามปกติ
Hyperpnea คือการหายใจที่แรงกว่าปกติหรือทั้งแรงและเร็วกว่าปกติ
Dyspnea คือการหายใจลำบากเป็นการหายใจที่ต้องใช้ความพยายามฝืนอย่างมาก
Orthopnea คือการหายใจลำบากในท่านอนราบ
Apnea คือการหายใจที่หยุดค้างในท่าหายใจออก
Apneusis คือการหายใจที่หยุดค้างในท่าหายใจเข้า
Apneustic Breathing คือการหายใจที่หยุดค้างในท่าหายใจเข้าสลับการหายใจออกเป็นระยะ ๆ
Gasping คือการที่มีการหายใจเข้าอย่างแรงในระยะสั้นแล้วหายไปอาจเป็นจังหวะหรือไม่สม่ำเสมอ
Restrictive pulmonary function
ภาวะที่การขยายตัวของปอดถูกจำกัด
ความผิดปกติของปอด เนื่องจากการขยายตัว (Expansion) ของปอดถูกจำกัดทำให้ TLC และ VC ลดลง มีผลให้หายใจเข้าลำบาก แต่แรงต้านการไหลของอากาศปกติ
ความยืดหยุ่นของปอดลดลงทำให้ความจุของปอดลดลง
เช่น ผู้ที่มีโรคของเนื้อปอด ผู้ที่โครงสร้างกล้ามเนื้อ หรือกระดูกที่ช่วยในการหายใจผิดปกติ กลุ่มนี้จะมีค่า FVC เมื่อเทียบกับมาตรฐานต่ ากว่า 80 % แต่ค่า FEV1 / FVC จะมากกว่า 70 %
สาเหตุ
มีการเปลี่ยนแปลงของเนื้อปอด (parenchymal)
โรคของเยื่อหุ้มปอด
มีปัญหาของ Chest Wall
ภาวะที่การขยายตัวของปอดถูกจำกัด
Atelectasis
การขยายตัว (Expansion) ของปอดไม่สมบูรณ์ หรือภาวะปอดแฟบไม่มีอากาศใน Alveoli
สาเหตุ
มีเสมหะอุดตันทางเดินหายใจและวัตถุแข็ง
ขาดสารลดแรงตึงผิวในของเหลวซับในถุงลม
ผลกระทบ
ปอดยุบนำไปสู่การบีบตัวของเส้นเลือด
เพิ่มความต้านทานการไหลเวียนของเลือด
การหดตัวของหลอดเลือดเพิ่มเติมเนื่องจากขาดออกซิเจนในการยุบถุงลม
การขยายตัว (Expansion) ของปอดไม่สมบูรณ์หรือปอดแฟบไม่มีอากาศใน Aveoli
สาเหตุ
1.Compression atelectasis
มีแรงจากภายนอกมากดเนื้อเยื่อของปอด
pneumothorax
pleural efusion
mass ใน thorax
2.Absorption atelectasis
เกิดขึ้นเมื่อมี secretion อยู่ใน bronchi และ bronchiole ทําให้เกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจไม่มีอากาศเข้าไปใน alveoli มักพบในผู้ป่วยหลังผ่าตัดซึ่งจะมีการคั่งค้างของ secretion หรือกลไกการไอถูกกดหรือความเจ็บปวด
พยาธิสรีรวิทยา
มีการอุดกั้นอากาศไม่ให้เข้าไปใน alveoli ทำให้ถุงลมแฟบ
เกิด blood shunt right to left shunt
เกิดภาวะ hypoxemia
ลักษณะทางคลินิก
Decrease breath Sound
Dyspnea
มีการขยายตัวของหน้าอกผิดปกติมี retraction ของ lower rib
Expiratory grunting
พังผืดที่ปอด
ปอดบวม
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
การก่อตัวของฝีและการเกิดโพรงฟัน
หลักการพยาบาล Restrictive pulmonary function
แก้ไขตามสาเหตุของภาวะนั้นๆ
การแก้ไขภาวะของ Hypoxemia
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
คำแนะนำในการปฏิบัติเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่างๆ
Obstructive pulmonary function
ภาวะที่มีการอุดกั้นของทางเดินหายใจ
การทำหน้าที่ของปอดผิดปกติเนื่องจากมีการอุดกั้นของทางเดินหายใจ
มีผลให้แรงต้านทานการไหลของอากาศหายใจ (resistance airway)
สูงขึ้น มีการอุดกั้นของหลอดลม ทำให้การหายใจออกลำบาก
กลุ่มนี้จะตรวจพบค่า FEV1 / FVC ต่่ำกว่า 70 % โดยค่า FVC จะปกติ
ในผู้ที่เป็นโรคหืด
โรคถุงลมโป่งพองจากการสูบบุหรี่
โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง
แบ่งเป็น 3 กลุ่ม จำแนกตามการอุดกั้น
กลุ่มที่รูท่อทางเดินหายใจอุดตัน
ภายในของรูท่อทางเดินหายใจอุดตันเนื่องจากการมีสิ่งแปลกปลอม เสมหะ
จำนวนมาก หรือการสำลักน้้ำหรือสารบางอย่างเข้าไปในรูท่อทางเดินหายใจ
ทำให้ตีบหรือแคบ ซึ่งจะมีผลต่อการไหลของอากาศหายใจ
สาเหตุ
ติดเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส และอื่นๆ
การระคายเคืองจากสารพิษ
การสำลักสิ่งแปลกปลอมเข้าไปในหลอดลม
การได้รับบาดเจ็บต่อท่อทางเดินหายใจ
ต่อมน้้ำเหลืองโตเบียดท่าทางเดินหายใจ
พยาธิสรีระวิทยา
เมื่อมีการระคายเคืองหรือติดเชื้อทางเดินหายใจบ่อยๆ
ทำให้ผนังหลอดลมอักเสบ บวม มีหนอง เสมหะมากขึ้น
การทำหน้าที่ของ cilia ผิดปกติ ความสามารถในการขจัดสิ่งแปลกปลอมลดลง
หรือกรณี มีเนื้องอก หรือก้อนโตเบียดท่อทางเดินหายใจ
ทำให้แรงต้านการไหลของอากาศมากขึ้น
เกิดภาวะ Atelectasis และมีความรุนแรงมากขึ้น
V/Q mismatch และมี Hypoxemia ตามมา
ลักษณะทางคลินิก
หายใจเสียงดัง stridor หน้าอกบุ๋ม (sternal and intercostal retraction
Hyperinflation
Residual volume เพิ่มขึ้น
กลุ่มที่ผนังท่อทางเดินหายใจบวมหรือหดตัว
ผนังท่อทางเดินหายใจบวมหรือหดตัว ทำให้เกิดภาวะอุดกั้นของทางเดินหายใจได้
ซึ่งอาจเป็นอย่างเฉียบพลัน หรือเรื้อรัง
กลุ่มที่มีแรงดันบริเวณรอบๆ นอกท่อทางเดินหายใจ
แรงดันที่เพิ่มขึ้นจากบริเวณรอบๆ นอกท่อทางเดินหายใจ
เป็นสาเหตุทำให้เกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจ เนื่องจากมีการสูญเสียแรงตึงตัวของผนังถุงลม(alveolar)
ซึ่งพบได้ในโรคถุงลมโป่งพอง (emphysema) หรือโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง(Chronic Obstructive Pulmonary Disease or COPD) คือมีลมหรืออากาศอยู่ในส่วนของ terminal bronchioleและมีการทำลายผนังของถุงลมจึงทำให้มีลักษณะโป่งออกของถุง
ถุงลมโป่งพอง (emphysema)
ภาวะการหายใจล้มเหลว (Respiratory failure)
การที่ระบบหายใจไม่สามารถทำหน้าที่ระบายอากาศ และแลกเปลี่ยนก็าซได้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
จะมีระดับ O2 ในเลือดแดง (Pa O2) ต่ ากว่าปกติ < 50-60 mmHg
และ/หรือ CO2 ในเลือดแดง (Pa CO2) สูงกว่าปกติ >50 mmHg
และร่างกายมีความเป็นกรดมากขึ้น< 7.25
Acute respiratory failure
ภาวะที่มีการพร่องของ O2 ในเลือดแดง (hypoxemia) Pa O2 ต่่ำกว่า50 mmHg หรือ
CO2 คั่ง (hypercapnia) Pa CO2 สูงกว่า 50 mmHg เกิดขึ้อย่างรวดเร็ว
Chronic respiratory failure
ภาวะที่มีการพร่องของ O2 ในเลือดแดง และ CO2 สูงขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป
ร่างกายสามารถปรับตัวชดเชยโดยการสร้างเม็ดเลือดแดงเพิ่มขึ้น และ
ไตชดเชยภาวะเป็นกรด ด่างของร่างกายโดยการเก็บ HCO3- ไว้เพิ่มขึ้น
สาเหตุ
ความผิดปกติที่ปอด
ความผิดปกติที่ช่องทรวงอกและเยื่อหุ้มปอด
ความผิดปกติที่ระบบประสาทส่วนกลาง:
ความผิดปกติของระบบประสาทและกล้ามเนื้อ
ความผิดปกติของระบบหัวใจและหลอดเลือด
พยาธิสรีรวิทยา Respiratory failure
การระบายอากาศน้อย (alveolar hypoventilation)
การระบายอากาศกับการไหลเวียนของเลือดไม่สมดุลกัน (V/Q) Mismatch
การลัด (right to left shunt)
การสูญเสียการซึมซ่านของก๊าซ (diffusion impairment)
อาการและอาการแสดงของภาวะการหายใจล้มเหลว
Respiratory system
ระยะท้ายหายใจเบาตื้น ช้าลง จนกระทั่งหยุดหายใจ และมีอาการเขียว
Cardiovascular System
ระยะท้าย มี hypotension
Central nervous system
เมื่อภาวะ Hypoxemia รุนแรง จะซึมลง ไม่รู้สึกตัว และมีอาการแสดงของ Hypercapnia
คือ ปวดศีรษะ ผิวหนังอุ่นแดง ซึมลง ชัก และไม่รู้สึกตัวได
Hematologic effect
ซึ่งต่อมาเลือดจะหนืดมากขึ้น
Acid-base balance
การวินิจฉัย
• อาการและอาการแสดงของภาวะการหายใจล้มเหลว
• Arterial Blood Gas
• Chest X-ray (CXR)
หลักการรักษาพยาบาลภาวะหายใจล้มเหลว
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
การให้ออกซิเจนแก้ไขภาวะ Hypoxemia
รักษาสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะหายใจล้มเหลว
หลักการพยาบาล Obstructive pulmonary function
รักษาทางเดินหายใจให้โล่ง
การแก้ไขภาวะของ Hypoxemia
แนะนำภาวะโภชนาการ
แนะนำการปฏิบัติตนให้กลีกเลี่ยงสาเหตุนำต่างๆ
Pulmonary edema
มีการสะสมของของเหลวในเนื้อเยื่อปอด คือ interstitial และalveoli
สาเหตุ
ภาวะหัวใจล้มเหลวด้านซ้าย
โรคลิ้นหัวใจไมตรัล
ความเสียหายต่อเยื่อหุ้มหลอดเลือดฝอยในปอด
การติดเชื้อ (ปอดบวม)
การหายใจเอาสารพิษ
ก๊าซคลอรีนหรือก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์
พยาธิสรีรวิทยา
Interstitial edema
Alveolar edema เกิด blood shunt คือ right to left blood shunt
ลักษณะทางคลินิก
Wheezing
Paroxysmal Nocturnal Dyspnea (PND) กลางคืนหายใจลำบากกระทันหัน
ไอแห้งๆ
Orthopnea
Arterial blood gas ผิดปกติมี hypoxia ,hypercapnia,respiratory acidosis
Pneumothorax
ภาวะที่มีลมเข้าไปใน pleural space ซึ่งมีผลให้ปอดแฟบ
พยาธิสรีรวิทยา
เมื่อมีลมเข้าไปใน pleural space จะทำให้ intrapleu pressure สูงขึ้นทำให้ผนังช่องอกและปลอดแยกออกจากกันมีผลให้เกิดการยุบขยายของปอดไม่เกิดขึ้นตามการหดตัวและคลายตัวของกล้ามเนื้อทรวงอกขณะเดียวกันจะดันmediastinum shift ไปยังด้านตรงข้ามที่ปกติ
สาเหตุ
1.มีการ leak ของลมเข้าไปโดยผ่านทางรูเปิดที่ผนังทรวงอก
2.Alveoli แตกฉีกขาด
ลักษณะทางคลินิก
Hypoxemia
Hypotension
Neck vien distention
Cyanosis
Pleural effusion or Hydrothorax
ภาวะที่มีการสะสมของเหลวในเยื่อหุ้มปอด ถ้าของเหลวนั้นเป็นหนองเรียกว่าempyema แต่ถ้าเป็นเลือดเรียกว่า hemothorax
สาเหตุ
Trauma
Neoplasm
Infection
Thromboemboli
พยาธิสรีรวิทยา
จากการที่มีของเหลวในเยื่อหุ้มปอดจะไปเบียดกดเนื้อเยื่อปอดโดยตรงทำให้การขยายตัวของปอดถูกจำกัดและมีการ shift ของ mediastinum ไปยังด้านตรงข้าม
ลักษณะทางคลินิก
ไอ
Breath sound เบาลง
Blood gas abnomalities
๋Jugular Vein Distention
Cysnosis
Pleurisy or Pleuritis
ภาวะที่มีการอักเสบของเยื่อหุ้มปอด
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจส่วนต้น (Upper respiratory tract infection)
พยาธิสรีรวิทยา
เมื่อมีการอักเสบของเยื่อหุ้มปอดจะทำให้เยื่อหุ้มปอดมีลักษณะแดงและมีการสะสมของน้ำเหลือง fibrin และเชลล์และอาจมี pleural efusion ตามมาได้
ลักษณะทางคลินิก
ไข้หนาวสั่น
ฟังเสียงปอดบริเวณที่มการอักเสบของเยื่อหุ้มปอดจะได้ยินเสียงคล้ายมีการเสียดสีของเยื่อหุ้มปอด (pleural friction rub)
เจ็บหน้าอกเวลาหายใจเข้า
Lung abscess
Abscess formation and Cavitation
Abscess คือภาวะที่ปอดมีการอักเสบเป็นหนอง (Abscess) และมีการทำลายเนื้อเยื่อปอด (lung parenchyma)
Cavitation คือกระบวนการทำลายเนื้อเยื่อปอดบริเวณที่มีการอักเสบกลายเป็นโพรง (Cavity)
สาเหตุ
สาเหตุเกิดจากมีการติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจส่วนล่าง (lower respiratory tract infection)
Pneumonia
Tuberculosis
พยาธิสรีรวิทยา
Pneumonia เกิดการอักเสบและทำให้ปอดแข็ง (consolidation) ถุงลมจะเต็มไปด้วนหนองและเชื้อโรคหลอดเลือดฝอยที่ผนังถุงลมถูกท่าลายและมีขนาดเล็กลงเนื้อปอดมีสีเทาเรียกว่า hepatization
Tuberculosis มีการอักเสบเกิดหนอง (abscess) ท่าให้เนื้อเยื่อปอดเกิดเป็นเนื้อตาย (necrosis) และกลายเป็นโพรง (cavity)
ลักษณะทางคลินิก
เสมหะเหนียวข้นมีสีเหลืองอาจมีกลิ่นเหม็นบางครั้งมีเลือดปน
เจ็บหน้าอก (pleural pain)
อ่อนเพลีย
breath sound เบามี crepitation
Aspergillus pneumonia in lung of deer
ปอดอักเสบจากการติดเชื้อรา กลุ่มAspergillus
Chest wall restriction
สาเหตุ
พบในคนอ้วน
severe hyphoscoliosis คือมีความผิดปกติของโครงสร้างกระดูกสันหลัง (spinal cord) และทรวงอก (thoracic)
neuromuscular disease มีกล้ามเนื้ออ่อนแรง
myasthenia gravis
พยาธิสรีรวิทยา
มีการเปลี่ยนแปลงของการระบายอากาศซึ่งความรุนแรงขึ้นอยู่กับความผิดปกติของผนังทรวงอกมีการติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจส่วนล่างได้ง่าย
ลักษณะทางคลินิก
หายใจลำบาก
ความรุนแรงมากขึ้นเกิดภาวะการหายใจล้มเหลว (Respiratory failure)
ภาวะที่มีผนังทรวงอกเคลื่อนไหวได้น้อยหรือไม่มีการเคลื่อนไหว