Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 6 แนวทางการวัดและประเมินสำหรับนักเรียนที่มีความ …
หน่วยที่ 6
แนวทางการวัดและประเมินสำหรับนักเรียนที่มีความ
ต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษา
หลักของการวัดและประเมิน
ใช้แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) เป็นเครื่องมือในการดำเนินการ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
คิดวิเคราะห์และเขียน
ประเมินการอ่าน
จุดมุ่งหมายเพื่อประเมินระดับความสามารถและความต้องการจำเป็นพิเศษ ปรับปรุงพัฒนานักเรียน และตัดสิน ผลการเรียน
ดำเนินการด้วยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสมกับสภาพปัญหาความต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษาและศักยภาพของนักเรียน
สถานศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบการวัดและการประเมินผลการเรียนรู้
ความสำคัญของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ขยายการจัดตั้งศูนย์การศึกษาพิเศษเพิ่มขึ้น
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้กำหนดแนวทางการจัดการศึกษา เกี่ยวกับคนพิการไว้ว่า การจัดการศึกษาต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอภาคกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไม่น้อยกว่า 12 ปีที่รัฐจะต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
โรงเรียนจัดการเรียนการสอนโดยใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งเป็นหลักสูตรอิงมาตรฐาน (Standards-based Curriculum)
แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program : IEP)
การจัดทำแผนการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) ควรให้สอดคล้องตามมาตรฐานและตัวชี้วัดในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
จุดเด่นจุดด้อย
:check: จุดเด่น คือ ความสามารถหรือศักยภาพในปัจจุบันที่นักเรียน สามารถทำได้ในสาระการเรียนรู้ ทักษะการเรียนรู้
:green_cross: จุดด้อย คือ สิ่งที่นักเรียนไม่สามารถทำได้ในสาระการเรียนรู้ ทักษะการเรียนรู้
ผู้ประเมิน/ครูควรตรวจสอบหรือประเมินความสามารถพื้นฐานจากสภาพจริงในหลายสถานการณ์ให้ครอบคลุม
เปิดโอกาสนักเรียนแสดงความรู้ความสามารถด้วยวิธีการที่หลากหลาย โดยคำนึงถึงศักยภาพและ ความสามารถของนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษา
แนวทางการวัดและประเมิน
การประเมินพัฒนาการและผลการเรียนรู้ของนักเรียน
(Formative Evaluation)
การประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียน (Summative Assessment)
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
ประเมินพัฒนาการและผลการเรียนรู้ของนักเรียนระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ตัดสินผลการเรียน เมื่อจบหน่วยการเรียนรู้หรือจบรายวิชาตามมาตรฐานและตัวชี้วัดในหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
เพื่อประเมินความรู้ความสามารถพื้นฐานและความต้องการจำเป็นพิเศษเพื่อวางแผนการจัดการเรียนรู้
กฎหมาย ประกาศออกตามความในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่2) พ.ศ. 2545
พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ พ.ศ. 2551 ที่กำหนดให้มีการวางระเบียบ ข้อกำหนด ประกาศ คำสั่งแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ
แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษา (ฉบับทดลอง)
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการปรับใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สำหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ
ความหมายของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
กลุ่มเด็กที่มีความสามารถพิเศษ
กลุ่มเด็กด้อยโอกาส
กลุ่มเด็กที่มีความบกพร่องทางการศึกษาทั้ง 9 ประเภท
เด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกาย
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษา
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้
เด็กออทิสติก
เด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น
เด็กพิการซ้ำซ้อน
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียน
ที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
ไม่เหมาะกับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษาที่เรียนรวมอยู่ด้วย ปัญหาที่พบได้แก่
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้การวัดและประเมินผลไม่สอดคล้องกับพัฒนาการและศักยภาพของนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษา
ความไม่ยืดหยุ่นของมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด
แนวปฏิบัติในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และ เขียน
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้
การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
เกณฑ์ในการวัดและประเมิน
การเรียนซ้ำชั้น
การสอนซ่อมเสริม
การเลื่อนชั้น
เกณฑ์การจบการศึกษา
การให้ระดับผลการเรียน
การรายงานผลการเรียน
การตัดสินผลการเรียน
แนวทางการวัดและประเมิน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน (คำนึงถึงสิ่งที่เป็นข้อจำกัดที่เกี่ยวข้อง และเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาความสามารถด้านการอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียน )
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ (หลากหลาย จากแหล่งความรู้หลายแหล่ง)
การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แนวปฏิบัติในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษแต่ละประเภท
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
2.2 พฤติกรรมด้านทักษะกระบวนการ (Process Skill: P)
หรือด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain)
2.3 พฤติกรรมด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attribute: A)
หรือด้านจิตพิสัย (Effective Domain)
2.1 พฤติกรรมด้านความรู้(Knowledge: K)
หรือพุทธิพิสัย (Cognitive Domain)
การจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
การประเมินระดับความรู้ความสามารถพื้นฐานและความต้องการจำเป็นพิเศษ
การกำหนดเกณฑ์และแนวทางการวัดและประเมินผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและประเมินผล
การประเมินทบทวนและปรับปรุงแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล(IEP)
การรายงานผลการจัดการศึกษาตามแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)