Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ป้องกันความเสี่ยงต่อการใช้ยา, นางสาวพิมพ์พิชชา มณีอินทร์ เลขที่ 32 ม.4/9 -…
ป้องกันความเสี่ยงต่อการใช้ยา
ความหมายความเสี่ยงต่อการใช้ยา
ความเสี่ยงต่อการใช้ยา หมายถึง โอกาสที่อาจเกิดขึ้นได้ผู้ป่วย
อาการอันไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้นจากการใช้ยา
1.คลื่นไส้ อาเจียน
3.อาการผื่น ลมพิษ มีผื่น
2.กระสับ กระส่าย นอนไม่หลับ
หรือง่วงนอนอยู่ตลอดเวลา
5.ช็อก หรือ หมดสติ
6.ระบบอวัยวะในร่างกายถูกทำลาย เช่น ตับ
4.เเน่นหน้าอก หายใจ
5.แนวปฏิบัติภายหลังพบอาการผิดปกติจากการใช้ยา
แนวปฏิบัติการแพ้ยาอย่างรุนแรง
2.เมื่อเกิดการแพ้ยาไม่รุนแรง
ควรสังเกตว่าอาการนั้นเกิดจากการแพ้ยาหรือไม่ และต้องมีการเฝ้าระวังเนื่องจากการเฝ้าระวังเนื่องจากอาการดังกล่าวอาจเกิดความรุนแรงเพิ่มขึ้นได้ และควรแจ้งให้เภสัชกรหรือแพทย์ตรวจสอบ
1.เมื่อเกิดการแพ้ยาอย่างรุนแรง
ควรหยุดการใช้ยาแล้วแจ้งแพทย์และบุคลากรที่เกี่ยวข้องทันทีเพื่อตรวจสอบ และรับการแก้ไข
แนวปฏิบัติเมื่อเกิดผลข้างเคียงของยา
1.เมื่อเกิดผลข้างเคียงของยาที่มีอาการรุนแรง
แพทย์หรือเภสัชกรจะต้องแจ้งผลข้างเคียงของยาให้ผู้ป่วยทราบโดยให้ข้อมูลไว้บนฉลากยาที่จ่ายให้ผู้ป่วย พร้อมแนะนำวิธีปฏิบัติที่จะช่วยลดอาการข้างเคียงเหล่านั้น
2.เมื่อเกิดผลข้างเคียงของยาที่มีอาการไม่รุนแรง
ถ้าผลข้างเคียงที่ไม่รุนแรงมักไม่เป็นปัญหาใดๆกับการใช้ยา แต่หากอาการรุนแรงขึ้นหรือการอย่างต่อเนื่องจนรบกวนการใช้ชีวิต ผู้ที่ใช้ยาก็อาจจะขอคำปรึกษาจากเภสัชกรหรือแพทย์
พฤติกรรมการใช้ยาที่ถูกต้องเพื่อลดความเสี่ยง
ต่อการใช้ยาที่ไม่พีงประสงค์
1.ใช้ยาให้ถูกโรค หมายถึง การใช้ยาให้ถูกกับโรคที่เป็น การใช้ยาไม่ถูกต้องกับโรคอาจจะทำให้เกิดอันตรายได้
2.ใช้ยาให้ถูกขนาด หมายถึง ต้องใช้ยาให้เหมาะสมกับอายุ
เเละน้ำหนักตัวเพื่อให้เกิดผลดีมกที่สุด
3.ใช้ยาให้ถูกเวลา เพราะการที่ยาจะออกฤทธิ์ในร่างกายได้ดีจะต้องมีระดับยาในร่างกายที่เหมาะสม
4.ใช้ยาให้ถูกบุคคล หมายถึง การให้ยาต้องให้เหมาะสมกับสภาวะของผู้ป่วยเเต่คน
5.ใช้ยาให้ถูกทางเเละถูกวิธี เวลาใช้ยาจะต้องใช้ให้ถูกทางเเละถูกวิธี
5.1.ยาอม ไม่ควรเคี้ยวหรือกลืนเพราะยาอมจะออกฤทธิ์อย่างช้าๆ
5.2.ยาอมใต้ลิ้น เป็นยาที่ต้องถูกดูดซึมในปากเพื่อให้ผลในทันที
5.3.ยาเหน็บ จะต้องเหน็บในช่องทางที่กำหนด
5.4.ยาทา ต้องทาเฉพาะภายนอก
ยาอื่นๆต้องใชตามที่เเพทย์สั่ง
คำเเนะนำในการใช้ยาบางประเภท
1.ยาปฎิชีวนะ ใช้ให้ครบตามระยะเวลาที่เเพทย์สั่ง
2.ยาซัลฟา ควรดื่มน้ำตามมากๆ ห้ามดื่มเครื่องดื่มที่ทำให้ปัสสาวะเป็นกรด
5.ครีมเเพรดนิโซโลน บรรเทาอาการวดเเสบปวดร้อน 6.ครีมไมโคนาโซน รักษากรากเกลื้อน ทาบริเวณที่ต้องการรักษา ยานี้อาจจะระคายเคืองเเละเเพ้ได้
7.น้ำยาโพวิโดนไอโอดีน ใช้ใส่เเผลถลอกหรือเเผลสด 8.น้ำเกลือสำหรับล้างเเผล ใช้ชะล้างเเผล
9.ไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ ใช้ชะล้างเผลที่มีหนอง 10.เเอลกอฮอล์ ใช้เช็ดล้ารอบเเผลฆ่าเชื้อโรค 11.ครีมน้ำมันระกำ ใช้ทาเเก้ปวด บวม เคล็ด ยอก
3.ยาหยอดหู ควรเช็ดหนองให้เเห้งก่อน เเล้วหยอดยาไนโตรฟูราโซน
4.ยาเเก้ผื่นคัน ต้องเขย่าขวดก่อนใช้ทาบริเวณที่มีอาการ
6.แนวทางปฏิบัติตนเพื่อการใช้ยาอย่างปลอดภัย
การทำให้ความเสี่ยงจากการใช้ยาลดลง และไดรับประโยชน์สูงสุด หรือ ลดอันตรายจากการใช้ยาลง
มีแนวปฏิบัติ 5 ประการ
1.
คุยกับแพทย์
ประวัติแพ้ยาผู้ป่วย
ข้อจำกัดต่อการใช้ยาของผู้ป่วย
ภาวะของร่างกายในขณะนั้น
สอบถามข้อสงสัยอย่างละเอียดเพื่อหลีกเลี่ยงการใช้ยาอย่างผิดๆ
2.ทำความรู้จักยาที่ใช้
ชื่อสามัญยา เพื่อหลีกเลี่ยงการใช้ยาซ้ำซ้อน หรือได้รับยาเกินขนาด
ชื่อทางการค้าของยา
ลักษณะทางกายภาพของยา
ข้อกำหนดการใช้ยา
ข้อจำกัดของยาภายใต้สถานการณ์ต่างๆที่กำหนดให้หยุดใช้ยาทันที
ผลข้างเคียงของยาหรือปฏิกิริยาของยาที่ควรระมัดระวัง
3.อ่านฉลากยาและปฏิบัติ
ตามอย่าเคร่งครัด
ทำความเข้าใจรายละเอียดเกี่ยวกับยาจากฉลากให้ชัดเจน ควรอ่านอย่างน้อย 2 ครั้ง หากไม่เข้าควรปรึกษาแพทย์
เก็บยาในที่เหมาะสม ตามระบุในฉลากยา
4.หลีกเลี่ยงการเพิ่มความเสี่ยง
ต่อการเกิดปฎิกิริยาระหว่างยา
ระลึกถึงและหลีกเลี่ยงอย่างเคร่งครัดต่อการกินยา อาหาร หรือเครื่องดื่ม ที่ทำให้เกิดปฏิกิริยากับยาที่กิน
ทุกครั้งที่ผู้ป่วยจะต้องรับยาใหม่เพิ่มเติม ควรนำยาเดิมไปให้แพทย์ดูก่อนเพื่อป้องกันการทานยาซ้ำซ้อน
5.สังเกตตนเองต่อผลของยาและ
อาการข้างเคียงจากการใช้ยา
สังเกตตนเองว่าผลจากการกินยาเป็นอย่างไร
ให้ความสำคัญกับอาการต่างๆ ของร่างกายตนเอง หากผิดปกติควรปรึกษาแพทย์ทันที
อาการอันไม่พึ่งประสงค์จากการใช้ยา
1.การรับยาติดต่อกันเป็นเวลานาน เป็นอาการที่ไม่พึงประสงค์ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องจากการที่ผู้ป่วยได้รับยาติดต่อกันมาเป็นเวลานาน
2.การดื้อยา การที่ใช้ยาปฏิชีวนะไม่ตรงกับชนิดของเชื้อโรคใช้ไม่ถูกขนาด หรือใช้ในระยะเวลาที่น้อยเกินไปหรือไม่เพียงพอต่อการทำลายเชื้อโรค
3.การติดยา ยาบางชนิด ถ้าใช้ไม่ถูกต้องหรือใช้ต่อเนื่องกันไปชั่วระยะเวลาหนึ่งอาจจะทำให้ติดยาได้
4.อันตรายจากพิษของยา มักจะเกิดยาเกินขนาด
รู้เท่าไม่ถึงการณ์
5.การเสื่อมเเละการหมดอายุของยา ยาทุกชนิดมีการเสื่อมเเละหมดอายุได้โดยมักเกิดจากการเก็บยาไม่ถูกวิธี
ความหมายของการเเพ้ยาเเละ
ผลข้างเคียงของยา
การเเพ้ยา
= การเเพ้ยาเป็นอาการที่ไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาในลักษณะหนึ่ง ที่ไม่สามารถคาดการณ์ได้ว่าผู้ใช้ยาคนใดจะเกิดอาการเหล่านี้ขึ้นเเละอาการเหล่านี้พบในผู้ใช้ยาบางรายเท่านั้น
ผลข้างเคียงของยา
= เป็นอาการที่ไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาอีกลักษณะหนึ่ง ที่สามารถระบุได้ชัดเจนว่าอาจจะเกิดขึ้นกับผู้ที่ใช้ยานี้ได้ทุกวันเพราะเป็นอาการที่เกิดขึ้นจากกลไกการออกฤทธิ์ของยาปกติ
จึงเป็นผลให้เกิดอาการเหล่านี้ขึ้น
กลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการเเพ้ยา หรือผลข้างเคียงของยา
กลุ่มที่เสี่ยงต่อการเกิดอาการเเพ้ยา
1.ผู้ติดเชื้อเอชไอวี
2.ผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อไวรัสร่วมด้วย
3.ผู้ป่วยที่มีประวัติเเพ้ยาที่มีโครงสร้างทางเคมีเเบบเดียวกันมาก่อน
4.ผู้ป่วยโรคหอบหืด
5.ผู้ป่วยที่มีหน่วยพันธุกรรม หรือจีนเฉพาะบางชนิด
6.ผู้ป่วยโรคลูปัส หรือเอสเเอลอี
กลุ่มที่เสี่ยงต่อการเกิดอาการผลข้างเคียงของยา
1.ผู้ทีมีการเจ็บป่วยที่รุนเเรง
2.ผู้ป่วยที่มีการทำงานของไตน้อยกว่าแกติ เป็นโรคตับ
3.ผู้ป่วยที่มีการใช้ยาหลายชนิดร่วมกัน
4.ผู้ติดเชื้อเอชไอวี
5.ผ้ติดเชื้อเฮอร์ปีส
6.ผู้ที่ติดเเอลกอฮอล์
7.ผู้ป่วยโรคเอสเเอลอี
7.ระบบสุขภาพภาคประชาชนกับการมีส่วนร่วมป้องกันความเสี่ยงต่อการใช้ยา
1.คน
2.องค์ความรู้
3.ทุน
ปรับขนาดของยาตามใจชอบ
นำยาผู้อื่นมาใช้
ไม่พร้อมฟังคำอธิบายจากเภสัชกร
เก็บยาไม่ถูกต้อง
ไม่ดูวันหมดอายุ
ลืมกินยา
ใช้ยาไม่ถูกต้อง
ไม่นำยาเก่ามาด้วยเมื่อไปรักษาอาการอื่น
มักไปรับการรักษาจากสถานพยาบาลหลายแห่ง
เชื่อว่าการใช้ยาดีกว่าการป้องกันการเกิดโรค
8.การมีส่วนร่วมป้องกัน
ความเสี่ยงต่อการใช้ยา
1.อ่านฉลากยาทุกครั้งก่อนใช้ และใช้ยาตามแพทย์สั่งอย่างเคร่งครัด หากสงสัยให้ถามแพทย์หรือเภสัชกร
2.ดูแลคนในครอบครัวใช้ยาตามที่แพทย์สั่งอย่างเคร่งครัด ถ้าแพ้ยาควรส่งแพทย์ทันที
3.เข้าร่วมกิจกรรมการประชาสัมพันธ์เรื่องเกี่ยวกับยา เพื่อลดความเสี่ยงจากการใช้ยา
4.ร่วมมือกับเพื่อนนักเรียนจัดกิจกรรมกลุ่มอาสาสมัครทั้งในสถานศึกษา
นางสาวพิมพ์พิชชา มณีอินทร์ เลขที่ 32 ม.4/9