Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กโรคคาวาซากิ, สกรีนช็อต 2021-08-29 132738, สกรีนช็อต…
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กโรคคาวาซากิ
ความผิดปกติของระบบไหลเวียนโลหิต
ความผิดปกติของหลอดเลือด
การหนาตัวของผนังหลอดเลือด
ภาวะความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตต่ าจากการเปลี่ยนท่า
ความผิดปกติอื่น ๆ ของหลอดเลือดที่ควรทราบ
ความผิดปกติของหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
ภาวะหัวใจล้มเหลว
ความผิดปกติอื่น ๆ ของหัวใจที่ควรทราบ
ความสำคัญของระบบไหลเวียน
เซลล์ของร่างกายจะทำงานอยู่ได้ต้องได้รับออกซิเจน สารอาหาร และอยู่สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม ระบบไหลเวียนจะทำหน้ําที่นำออกซิเจนและสิ่งจำเป็นในการดำรงชีวิตไปเลี้ยงเซลล์ที่เป็นส่วนประกอบต่าง ๆ ของร่างกายและนำของเสียกลับบออกมําเพื่อขับออก
คำศัพท์ที่ควรทราบ
Afterload = แรงต้านการบีบตัวของหัวใจห้องล่างซ้าย
Aneurysm = การป่งพองของผนังหลอดเลือด
Atherosclerosis = การแข็งตัวของหลอดเลือดแดง
Congestion = การคั่งของน้ าหรือเลือดในส่วนต่างๆของร่างกาย
Embolus = ลิ่มเลือด ฟองอากาศไขมัน ที่ลอยอยู่ในหลอดเลือด
Infarction = การตายของเนื้อเยื่อจากการขาดออกซิเจน
Ischemia = การได้รับเลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพอ
ระบบไหลเวียนโลหิตประกอบด้วย
หัวใจ (heart)
หลอดเลือดแดง (artery)
หลอดเลือดดำ(vein)
หลอดเลือดฝอย (blood capillary)
อวัยวะที่ได้รับผลกระทบมากที่สุด คือ หัวใจ สมอง ไต ลำไส้เล็ก และ lower extremitiesซึ่งเกิดพยาธิสภาพ
Abdominal aorta/Terminal aorta
Coronary artery
Carotid และ Vertebral artery
Renal artery
Mesenteric artery
หลักการรักษาพยาบาล
หลักการรักษาภาวะ atherosclerosis คือการท าให้ผนังหลอดเลือดบางลง เพื่อเพิ่ม งวดของหลอดเลือด โดยการทำผ่าตัดเพื่อดูดเอา plaque ออก (endarterectomy) หรือ ท าการตัดต่อเส้นเลือด (Surgical bypass) การทำBalloon angioplasty และ การทำ endovascular stent
ผู้ที่มีแนวโน้มว่าจะ มีโอกาสเกิดภาวะ atherosclerosis เนื่องจากมีระดับไขมันในเลือดสูง การแนะนำให้ปรับพฤติกรรมสุขภาพใหม่เป็นบทบาทของพยาบาล โดยเน้นการออกกำลังกาย การลดปัจจัยเสี่ยง ต่างๆ เช่น การสูบบุหรี่การรับประทานอาหารที่มีไขมันสูง และแนะนำการควบคุมน้ าหนัก เป็นต้น
ภาวะความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตตัวบน ( Systolic Pressure ) สูงกว่า 140 มิลลิเมตรปรอทและ หรือความดันโลหิตตัวล่าง ( diastolic Pressure ) สูงกว่า 90 มิลลิเมตรปรอท
ชนิดของความดันโลหิตสูง
Primary hypertension หรือ Essential hypertension เป็นความความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ ซึ่งพบเป็นส่วนใหญ่ของผู้ป่วยที่เป็นความดันโลหิตสูง (ประมาณร้อยละ 90) และพบว่ามีปัจจัยส่งเสริมต่าง ๆ ที่ชักน าให้เกิดความดันโลหิตสูงชนิดนี้
Secondary hypertension เป็นความดันโลหิตสูงชนิดที่ทราบสาเหตุ ซึ่งมีสาเหตุจากโรคไต เช่น โรคหลอดเลือดแดงของ
ไตตีบ (renal artery stenosis) สาเหตุจากโรคของระบบต่อมไร้ท่อ เช่น Cushing's syndrome, Pheochromocytoma
พยาธิสรีรภาพ
Genetic defect มีความผิดปกติของไตเองตั้งแต่ก าเนิด ไม่สามารถ excrete sodium และน้ำได้
Sympathetic nervous system มี overactivity เพิ่มการหลั่งของสาร adrenaline และ Noreadrenalineมากกว่าปกติ
Renin angiotensin system ปัจจัยนี้ได้มีผู้พยายามศึกษาระดับเรนินในพลาสม่า ผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูงชนิด
ไม่ทราบสาเหตุ โดยแบ่งตามระดับเรนินว่าสูง ปกติหรือต่ำ
พยาธิสรีรภาพ (ต่อ)
การที่ไตถูกท าลาย หรือ หลอดเลือดแดงไปเลี้ยงที่ไตตีบลง จะกระตุ้น renin angiotensin aldosteroneSystem คือ renin enzyme ถูกหลั่งออกมาจาก Juxtaglomerular cell ของ renal afferentarteriole มากขึ้น ท าปฏิกิริยาต่อ Renin substrate จากตับ เป็น Angiotensin I แล้ว Angiotensinconverting enzyme จากปอดจะเปลี่ยน Angiotensin I เป็น Angiotensin II ซึ่งเป็นตัวท าให้หลอดเลือดหดตัว และ Angiotensin ยังกระตุ้นให้ Adrenal gland หลั่ง Aldosterone ซึ่งเป็น hormone ที่เพิ่มความสามารถในการดูดซึมโซเดียมและน้ าที่ distal tubule เพื่อแลกเปลี่ยนโปแตสเซี่ยมทำให้มีการเพิ่มปริมาณในระบบ ไหลเวียนโลหิตเพิ่มขึ้นมีผลให้ความดันโลหิตสูงขึ้น
ความดันโลหิตต่ำจากการเปลี่ยนท่า
ความผิดปกติอื่น ๆ ของหลอดเลือดที่ควรทราบ
Venous thrombosis
Thromboangitis obliterans
Aortic aneurysm
Kawasaki’s disease
Raynaud’s syndrome
Takayasu’s disease