Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคหัวใจพิการที่เกิดขึ้นภายหลัง (Acquired Heart Disease) - Coggle Diagram
โรคหัวใจพิการที่เกิดขึ้นภายหลัง (Acquired Heart Disease)
โรคไข้รูมาติค (Rheumatic fever)
การประเมินสภาพ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ - เพาะเช้ือจากคอ ตรวจหา Beta hemolytic streptococcus group A, - Antistreptolysin O (ASO) ในเลือดมากกวา่ 320 Todd unit, - ESR (Erythrocyte Sedimentation rate) เพิ่มข้ึน, - C-reactive protein ให้ผลบวก
ภาพรังสีทรวงอก (chest x-ray) : พบเงาหัวใจโตกว่า ปกติปอดบวมน้า มีน้า ในช่องเยื่อหุ้มหัวใจ เยื่อหุ้มปอด
ตรวจร่างกาย : พบอาการดังที่กล่าวมาแลว้ข้างต้น
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG) : P-R interval ยาวกวา่ ปกติT-wave ผิดปกติ
การซักประวัติ
คลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ (echocardiogram) : ช่วยวินิจฉัยการมีนํ้า ในเยื่อหุ้มหัวใจการรั่ว/ตีบของลิ้นหัวใจ
การรักษา
ให้ยากำจัดเชื้อโรค Betahemolytic streptococcus
ให้ยาส าหรับลดการอกัเสบ ไดแ้ก่Salicylate และ Steroid ให้กรณีมี Carditis และหัวใจโตมากไม่มีheart failure คือ ให้ Aspirin 75-120 มก./กก./วัน และ Prednisolone 2 มก./กก./วัน
ให้นอนพัก 2-6 สัปดาห์/เคลื่อนไหวไปมาในห้อง เดินบริเวณใกล้ ช่วยเหลือในการทำกิจกรรมทุกอย่าง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับอาการของผู้ป่วย
ถ้ามี Chorea ให้ Phenobarbital, Diazepam
-ผู้ป่ วยที่มีภาวะหัวใจวาย ให้ digitalis ร่วมกบัยาขบั ปัสสาวะเพื่อช่วยในการขยายหลอดเลือด
อาการและอาการแสดง
ลกัษณะส าคญั ของผูป้่วยมกัจะมาดว้ยอาการปวดขอ้ หรือขอ้อกัเสบบางรายอาจมีอาการเหนื่อยง่ายและหัวใจเต้นเร็ว ส่วนใหญ่เคยเป็นไขห้ รือเจ็บคอที่ไม่ได้รับการรักษา หรือซ้ือยามากินเอง อาการทางmajor criteria ไดแ้ก่
Carditis : เป็นอาการที่พบบ่อยที่สุด พบร้อยละ80 พบเสียง murmur ที่ apex จากภาวะ mitral valve ตีบหรือรั่ว หัวใจโต หวัใจวายเช่น ไอ เจ็บ หน้าอก หอบเหนื่อย ตับโต บวม
อาการแสดงทางผิวหนัง มี 2ลักษณะ
3.1 Erythema marginatum : เป็นผื่น แดงไม่คัน ขอบผื่น จะหยักและสีแดงชัดเจนมักพบบริเวณแขน ขา ลําตัว เป็นๆ หายๆ (อาการเกิดชั่วคราวคล้ายลมพิษ)
3.2 Subcutaneous nodule : เป็นก้อนรีๆ ใต้ผิวหนัง จับให้เคลื่อนไหวได้มักจะเป็นใกล้ๆข้อ เป็นปุ่มๆ ติดกับ เอ็นและกระดูก
Chorea เป็นความผิดปกติในการเคลื่อนไหวร่วมกับ มีอารมณ์แปรปรวน มีการเคลื่อนไหวของกลา้มเนื้อโดยเจ้าตัวไม่ได้ต้้งัใจร่วมกับ มีกล้ามเนื้ออ่อนแรง
Polyarthritis : การอัก เสบของข้อ โดยมักจะมีอาการมากกว่า 1ข้อ มัก เป็นข้อใหญ่ๆ เช่น เข่าศอก ข้อเท้า อาจเป็ นทีละข้อแล้วเปลี่ยนไปข้ออื่น (migration) หรือเป็นพร้อมกัน หลายข้อ ตรวจพบลักษณะการอักเสบ คือ ปวด บวม แดง ร้อน ส่วนใหญ่มักเป็นกับข้อใหญ่ๆ ของแขนและขา (เดินไม่สะดวก ปวด ข้อบวม) เมื่อถ่ายx-ray จะเห็นการบวมของ soft tissuesถา้ไม่ไดร้ับการรักษา อาการที่ขอ้จะเป็นอยขู่ อ้ละ1 –5วัน แล้วค่อยๆ ดีขึ้นเองโดยไม่มีความผดิปกติหลงเหลืออยู่
พยาธิสภาพ
กลไกของการเกิดโรคเขา้ใจว่าเกี่ยวขอ้งกบัความผิดปกติทางระบบภูมิคุ้มกัน (Immunopathology)ทํา ให้มีการทา ลายของกลา้มเน์้อหัวใจ โดยเฉพาะที่ผนงัของ left ventricle, mitral valve, aortic valve และ
เยื่อหุ้มหัวใจ การอักเสบจะเป็ นแบบ exudative inflammation เกิด granulomatus tissue และ fibrosis การอกัเสบซ้า ๆ จะทา ใหล้ิ้นหวัใจตีบหรือรั่วได้
การป้องกัน
ป้องกันผู้ที่เป็นแลว้ไม่ให้เป็นซ้า อีกโดยควรได้รับยาป้องกัน ตลอดชีวิต แต่อาจจะพิจารณาหยุดยาเมื่ออายุ 25 ปีและไม่เป็นโรคนี้ซ้า อีกเป็นเวลา 5 ปี ได้แก่ยาPenicillin, Erythromycin
การประเมินทางการพยาบาล
การซักประวัติ
ประวัติการป่ วยด้วยโรคหัวใจของบุคคลในครอบครัว การติดเชื้อทางเดินหายใจบ่อยๆอาการซีด เขียว
ประวัติมารดาขณะตั้งครรภ์โดยเฉพาะในระยะ 3 เดือนแรก
แบบแผนในชีวติประจำวัน ได้แก่ การรับประทานอาหาร ความทนทานต่อกิจกรรมต่างๆสิ่งที่ชอบเล่น สิ่งที่เด็กเป็นกังวล
4.ผู้ให้การช่วยดูแลช่วยเหลือเมื่อมีความเจ็บป่วย
การตรวจร่างกาย
3.สัญญาณชีพ
การหายใจ นับเต็มเวลา 1 นาที จะหายใจเร็ว ปีกจมูกบาน อกบุ๋ม หายใจลําบากไอ
อัตราการเต้นของหัวใจ ความสมํ่าเสมอของชีพจร เสียงหัวใจผิดปกติ
ความดันโลหิตซึ่งมักพบวา่ สูงกวา่ ปกติ
2.การประเมินผิวหนัง
สังเกตสีผิวซีดหรือเขียว โดยสังเกตจากเยื่อบุปาก ริมฝีปาก ลิ้น เหงือก มือเท้า โคนเล็บ
นิ้วปุ้ม ปลายนิ้วกว้างหนา เล็บโค้งนูนออก
มีเหงื่อ ผิวหนังชื้น
บวมรอบดวงตา ใบหน้า มือ เท้า
ทรวงอก
ลักษณะทรวงอกท้งั 2ข้างมีการโป่ งนูนของผนังอกโดยเฉพาะด้านซ้าย
การประเมินลกัษณะทั่วไป
ภาวะโภชนาการ/การมีตัวโตเหมาะสมกับวัย
พัฒนาการเหมาะสมกับวัย
สีหน้าท่าทาง พฤติกรรม การรับรู้การสื่อสาร ระดับกิจกรรม
ลักษณะผิดปกติอื่น ๆ
ช่องทอ้ง
ขนาดของตับโต คล าได้ต ่ากวา่ ระดบั ชายโครงขวา ทอ้งมาน
ประเมินการทํางานของไต
สังเกตบันทึกจ านวนปัสสาวะใน 24 ช.ม.
กิจกรรมทางการพยาบาล
ปรับกิจกรรม/การพักผ่อนใหเ้หมาะสม
หลีกเลี่ยงการออกแรงมากๆ เช่น เบ่งถ่ายอุจจาระการเล่นกีฬาแข่งขัน หรือทำให้ตื่นเต้น เร้าใจ
ดูแลความสะอาดร่างกายโดยเฉพาะปากฟัน แปรงฟัน บว้นปากบ่อยๆ
ประเมินการติดเช้ือที่คอโดยวัดอุณหภูมิทุก 4 ชม. สอบถามอาการเจ็บคอ เจ็บหน้าอก ตรวจคอ ทอนซิล ติดตามผลการตรวจเพาะเชื้อจากคอ ติดตาม WBC, ASO titer
ดูแลให้ได้รับยา Penicillin v.
ระมัดระวังไม่ให้ผู้ป่วยติดเชื้อเพิ่มเติม ถ้ามีอาการเจ็บคอ หวัดไอควรปิดปากเวลาไอจาม