Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิด - Coggle Diagram
การพยาบาลทารกแรกเกิด
Hypothermia
การสูญเสียความร้อน
การนำความร้อน (Conduction) เกิดจากผิวของทารกสัมผัสกับวัตถุที่เย็น เช่น ที่นอน มือ อุปกรณ์ที่สัมผัสทารกที่เย็น ป้องกันโดย ใช้ผ้าห่อหุ้มวัตถุที่เย็นก่อนสัมผัสทารก
การพา (Convection) มีลมเป็นตัวพาความร้อนจากร่างกายทารกสู่ที่เย็นกว่า เช่น พัดลม เครื่องปรับอากาศ การเปิดออกซิเจนให้ตรงตัวทารก แก้ไขโดยห่อตัวทารก ห่มผ้า หรือหาฉนวนห่อหุ้มตัวทารกไว้
การระเหย (Evaporation) เป็นการสูญเสียความร้อนเมื่อของเหลวเปลี่ยนไปเป็นไอน้ำ เช่น การปล่อยให้ทารกตัวเปียก ไม่เปลี่ยนผ้าอ้อมเมื่อทารกถ่าย ปล่อยให้นอนแช่น้ำคร่ำ การอาบน้ำทารก น้ำหรือของเหลวนั้นจะระเหยไปในอากาศ ทำให้ความร้อนสูญเสียไป การป้องกันทำได้โดยเช็ดตัวให้แห้ง เปลี่ยนผ้าอ้อมที่เปียกชื้น
การแผ่รังสี (Radiation) เป็นการสูญเสียความร้อนไปสู่ที่เย็นกว่า โดยการอยู่ใกล้วัตถุที่เย็น แต่ไม่ได้สัมผัสวัตถุที่เย็นโดยตรง ป้องกันโดยให้ทารกอยู่ใต้ radiant warmer
ความหมาย
- วัดทางรักแร้และทวารหนักต่ำกว่า 36.5 C
- ทวารหนัก : จับปรอททำมุม 30 องศากับพื้นราบ ค่อย ๆหมุนปลายกระเปราะปรอทลงในทวารหนัก นาน 3 นาที
- ลึก 2.5 ซม. ก่อนกำหนด
- ลึก 3 ซม. ครบกำหนด
- รักแร้ : นาน 5 นาที ก่อนกำหนด นาน 8 นาที ครบกำหนด
อุณหภูมิที่ยอมรับ 36.8 – 37.2 C
อาการ
อาการเริ่มแรก : ตัวลาย ซึม ดูดนมช้า ดูดนมน้อยลง หรือไม่ดูดนม อาเจียน ท้องอืด น้ำหนักไม่ขึ้น หรือน้ำหนักลด
อาการรุนแรง : ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ ภาวะกรดจากการเผาผลาญโดยไม่ใช้ออกซิเจน ภาวะหายใจลำบากอย่างรุนแรง การติดเชื้อ ซึม ไม่ดูดนม ท้องอืด อาเจียน หยุดหายใจ หายใจเร็วมี Grunting ปัสสาวะน้อย ไตวาชัก
การดูแล
-
-
-
-
-
วัดอุณหภูมิทุก 4 ชม. ถ้าต่ำค้นหาสาเหตุและแก้ไขเบื้องต้น
ประเมินซ้ำทุก 15นาที ถ้ายังพบปัญหาให้ปรึกษาแพทย์ ถ้าเด็กอยู่ในตู้อบ
-
-
Hypoglycemia
อาการ
-
-
ควรตรวจเมื่ออายุ 45 นาที – 1 ชม. และเมื่อ 2,4 ,6 12 , 24 และ 48 ชม.
-
ทารกเสี่ยง
-
-
-
-
-
Respiratory distress,Asphyxia
-
-
-
-
-
-
Neonatal Sepsis
-
แบ่งเป็น 3 กลุ่ม
กลุ่มติดเชื้อในระยะ แรก (Early-onset; 0-6 วัน) เชื้อที่สำคัญคือ Group B streptococcus (GBS), Escherichia coli
-
-
อาการ
ทางเดินหายใจ
-
-
-
ร้องคราง (grunting)
เขียวปลายมือปลายเท้า
หายใจอกป๋มุ (retraction) ปีกจมูกบาน (flaring)
ระดับออกซิเจนในเลือดตำ/สีผิวคล้ำลง (preterm SpO2 < 88 %, term SpO2 < 90 %)
-
-
-
-
-
-
-
Hyperbilirubinemia
-
-
การวินิจฉัย
-
-
เหลืองจากการรับประทานนมแม่ (Breast milk jaundice) มักจะเหลืองตอนปลายสัปดาห์แรกหลังคลอด ถ้าหยุดให้นมแม่ชั่วคราวประมาณ 36-48 ชั่วโมง
ระดับbilirubin จะลดลงทันที เมื่อกลับให้นมแม่ใหม่ระดับ bilirubin ก็จะกลับสูงขึ้นแต่มักไม่สูงกว่าเดิม
ปากแหว่งเพดานโหว่
การดูแล
-
-
ป้องกันแผลติดเชื้อ ให้น้ำตามหลังการให้นม และทำความสะอาดแผลด้วย NSS หรือ half-strength H2O2 หลังการผ่าตัดเพดานโหว่ ไม่ต้องทำความสะอาด เพียงให้ดื่มน้ำทุกครั้งหลังมื้อนมก็เพียงพอ
ทาแผลด้วย antibiotic ointment สังเกตลักษณะและการติดของแผล ป้องกันการสูดสำลัก ดูดเสมหะด้วยความนุ่มนวลใช้ bulb syringe แทนใช้เครื่องดูด
เด็กที่ปากแหว่งอาจต้องใช้จุกนมพิเศษที่เป็นพลาสติกและยาวกว่าปกติขณะที่ให้ลูกดูดนมควรให้จุกนมเข้าในปากลึกๆ และบีบขวดนมเพื่อให้นมออก ให้ไม่ต้องออกแรงดูดมาก