Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เป้าหมายของการจัดการศึกษา - Coggle Diagram
เป้าหมายของการจัดการศึกษา
ด้านพุทธิพิสัย
ความรู้ ความจำ
ความรู้ในเรื่องเฉพาะ
ความรู้เกี่ยวกับศัพท์
ความรู้เกี่ยวกับกฎและความจริงเฉพาะเรื่อง
ความรู้เกี่ยวกับแนวทางและวิธีดำเนินการ
ความรู้เกี่ยวกับระเบียบแบบแผน
ความรู้เกี่ยวกับลำดับขั้นตอนหรือแนวโน้ม
ความรู้เกี่ยวกับการจำแนกประเภท
ความรู้เกี่ยวกับเกณฑ์
ความรู้เกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติ
ความรู้เกี่ยวกับความรู้รอบยอดในเนื้อเรื่อง
ความรู้เกี่ยวกับหลักวิชาและการขยายวิชา
ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีและโครงสร้าง
ความรู้ความเข้าใจ
การแปลความ
การตีความ
การขยายความ
การนำไปใช้
ความสามารถในการนำความรู้และความเข้าใจในเรื่องราวใดๆที่ผู้เรียนเรียนรู้มาแล้วไปแก้ปัญหาต่างๆ
การวิเคราะห์
การวิเคราะห์ความสำคัญหรือวิเคราะห์องค์ประกอบ
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์
การวิเคราะห์หลักการ
การสังเคราะห์
การสังเคราะห์ข้อความ
การสังเคราะห์แผนงาน
การสังเคราะห์ความสัมพันธ์
การประเมินค่า
การประเมินค่าโดยใช้เกณฑ์ภายใน
การประเมินค่าโดยใช้พื้นภายนอก
ด้านจิตพิสัย
การรับรู้หรือการใส่ใจต่อสิ่งเร้า
การรู้จักสิ่งเร้า
การเต็มใจหรือตั้งใจที่จะรับรู้สิ่งเร้า
การคัดเลือกสิ่งเร้าที่ต้องการรับรู้
การตอบสนอง
การยินยอมหรือยอมรับที่จะตอบสนอง
การเต็มใจที่จะตอบสนอง
การพอใจในการตอบสนอง
การเห็นคุณค่าหรือการสร้างคุณค่า
การยอมรับในคุณค่า
การนิยมขมขอบในคุณค่านั้น
การเชื่อในคุณค่าหรือสร้างคุณค่า
การจัดระบบคุณค่าหรือจัดระบบค่านิยม
การสร้างความคิดรวบยอดเกี่ยวกับคุณค่านั้น
การจัดระบบคุณค่า
การสร้างลักษณะนิสัย
การสร้างลักษณะนิสัยชั่วคราว
การสร้างลักษณะนิสัยถาวร
ด้านทักษะพิสัย
การรับรู้ของระบบประสาทและกล้ามเนื้อ
ความพร้อมที่จะปฏิบัติ
การปฏิบัติตามคำแนะนำ
การปฏิบัติจนเป็นนิสัย
การปฏิบัติที่สลับซับซ้อน
การปรับตัววิธีปฏิบัติการหรือการดัดแปลง
ความสามารถในการริเริ่มหรือสร้างปฏิบัติการใหม่
ระดับเป้าหมายที่กำหนดในการจัดการศึกษา
เป้าหมายการศึกษาระดับชาติ
เป้าหมายระดับหลักสูตร
เป้าหมายระดับกลุ่มวิชาหรือกลุ่มสาระการเรียนรู้
เป้าหมายรายวิชา
เป้าหมายระดับการสอน
การเขียนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
องค์ประกอบของจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
เงื่อนไขหรือสถานการณ์
พฤติกรรมที่คาดหวัง
เกณฑ์
การเขียนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
ขั้นความรู้ความจำ
ขั้นความรู้ความเข้าใจ
ด้านการนำไปใช้
ด้านการวิเคราะห์
ด้านการสังเคราะห์
ด้านการประเมินค่า
การเขียนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
เป็นคุณลักษณะที่เกี่ยวข้องกับความรู้สึกที่เกิดขึ้นในจิตใจของบุคคล
คำกริยาที่ใช้ในการเขียนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
ตระหนัก ให้ความสำคัญ จำแนก ยอมรับ เลือก เป็นต้น
การเขียนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมด้านทักษะพิสัย
เป็นพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติโดยอาศัยการเคลื่อนไหวอวัยวะส่วนต่างๆของร่างกายโดยประสานการทำงานกับสมอง
ฟัง พูด อ่าน เขียน ปฏิบัติดำเนิน เตรียม ผลิต สร้าง ใช้เครื่องมือ