Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ข้อบังคับสภาฯว่าด้วยข้อจำกัดและเงื่อนไขการประกอบวิชาชีพฯ - Coggle Diagram
ข้อบังคับสภาฯว่าด้วยข้อจำกัดและเงื่อนไขการประกอบวิชาชีพฯ
หมวดที่ 1 บททั่วไป (ข้อ๔)
“การรักษาโรคเบื้องต้น” หมายความว่ากระบวนการประเมินภาวะสุขภาพทั้งการซักประวัติ การตรวจร่างกาย การวินิจฉัย เพื่อการแก้ไขปัญญา
“การเจ็บป่วยฉุกเฉิน” หมายความว่าการได้รับบาดเจ็บหรือการเจ็บป่วยกะทันหัน ต้องดำเนินการช่วยเหลือและการดูแลรักษาทันที
''การเจ็บป่วยวิกฤต" หมายความว่า การเจ็บป่วยที่มีความรุนแรงถึงขั้นที่อาจทาให้ผู้ป่วยถึงแก่ชีวิตหรือพิการได้
“การปฐมพยาบาล” หมายความว่า การให้ความช่วยเหลือแก่ผู้บาดเจ็บหรือผู้เจ็บป่วย
“การให้ภูมิคุ้มกัน” หมายความว่า กระบวนการที่ทาให้ร่างกายสร้าง หรือเกิดภูมิคุ้มกัน หรือมีภูมิต้านทานต่อโรคที่ต้องการ โดยการให้วัคซีน
หมวดที่ ๒ การประกอบวิชาชีพการพยาบาล
ส่วนที่ ๑ การพยาบาล(ข้อ ๕-๘)
ข้อที่ ๕ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง กระทาการพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาล
๕.๑ การกระทำต่อร่างกายและจิตใจของบุคคล การตรวจประเมินภาวะสุขภาพ การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคการปฐมพยาบาล ทั้งรายทั่วไป รายที่ยุ่งยาก ซับซ้อน หรือเป็นการเจ็บป่วยฉุกเฉินหรือวิกฤต
๕.๒ การสอน การแนะนา การให้คาปรึกษาและการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย
๕.๓ การจัดสภาพแวดล้อมเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ
๕.๔ การปฏิบัติการพยาบาลตามแผนการพยาบาลและ/หรือแผนการรักษาของ ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
๕.๕ การให้การพยาบาลที่บ้านและการส่งเสริมความสามารถของบุคคล ครอบครัว และชุมชน
ข้อ ๖ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล
ชั้นหนึ่ง จะให้ยาผู้รับบริการได้เฉพาะที่ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
เงื่อนไข
๖.๑ ห้ามให้ยา หรือสารละลายในช่องรอบเยื่อบุไขสันหลัง หรือช่องไขสันหลัง หรือ สายสวนทางหลอดเลือดดาส่วนกลาง และช่องทางอื่น ตามที่สภาการพยาบาลประกาศกาหนด
๖.๒ ห้ามให้ยา หรือสารละลาย หรือสารที่เกี่ยวข้องกับรังสีวินิจฉัย และยาอื่น ตามที่ สภาการพยาบาลประกาศกาหนด
ข้อ ๗ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นสอง ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ให้กระทำการพยาบาลที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อนตามแผนการพยาบาล
ข้อ ๘ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นสอง ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นสอง จะให้ยาผู้รับบริการได้เฉพาะการให้ยาทางปากและยาภายนอก ตามที่ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
ส่วนที่ ๒ การทาหัตถการ(ข้อ ๙)
ข้อ ๙ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง กระทำการพยาบาลโดยการทาหัตถการตามขอบเขตที่กาหนด
๙.๑ การทำแผล การตกแต่งบาดแผลและไม่อยู่ในตำแหน่งซึ่งเป็นอันตรายต่ออวัยวะสำคัญของร่างกาย
๙.๒ การผ่าตัดในบริเวณที่อยู่ในตำแหน่งซึ่งไม่เป็นอันตรายต่ออวัยวะที่สาคัญของร่างกาย โดยใช้ยาระงับความรู้สึก ทางผิวหนังหรือฉีดยาชาเฉพาะที่ ในการเอาสิ่งแปลกปลอมออกจากอวัยวะ
๙.๓ การถอดเล็บ การจี้หูดหรือจี้ตาปลา โดยใช้ยาระงับความรู้สึกทางผิวหนัง หรือฉีดยาชาเฉพาะที่
๙.๔ การให้ออกซิเจน
๙.๕ การให้สารน้าทางหลอดเลือดดา ในผู้ป่วยที่มีภาวะวิกฤต
๙.๖ การให้ยา ทางปาก ทางผิวหนัง ทางหลอดเลือดดา หรือช่องทางอื่น ๆ ตามแผนการรักษาของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือตามที่สภาการพยาบาลประกาศกำหนด
๙.๗ การให้เลือดตามแผนการรักษาของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
๙.๘ การเปิดทางเดินหายใจให้โล่งด้วยการดูดเสมหะ การเคาะปอด
๙.๙ การช่วยฟื้นคืนชีพ
๙.๑๐ การเช็ดตา ล้างตา หยอดตา ป้ายตา ปิดตา หรือการล้างจมูก
๙.๑๑ การสอดใส่สายยางลงไปในกระเพาะอาหาร
๙.๑๒ การสวนปัสสาวะ
๙.๑๓ การสวนทางทวารหนัก ในรายที่ไม่มีข้อบ่งชี้อันตราย
๙.๑๔ การดาม หรือการใส่เฝือก ชั่วคราว
๙.๑๕ การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม
๙.๑๖ การเจาะเก็บตัวอย่างเลือดจากหลอดเลือด
๙.๑๗ หัตถการอื่น ๆ
หมวดที่ ๓ การรักษาโรคเบื้องต้น(ข้อ ๑๐-๑๕)
ข้อ ๑๐ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ให้กระทำการประกอบวิชาชีพการพยาบาลตามข้อกาหนดของสภาการพยาบาลในการรักษาโรค เบื้องต้นและการให้ภูมิคุ้มกัน
โรค ดังต่อไปนี้
ไข้ ไอ ปวดหัว,หลัง,เอว,ท้อง ท้องผูก,เดิน การอกัเสบ โลหิตจาง ดีซ่าน ขาดสารอาหาร อาหารเป็นพิษ โรคพยาธิลำไส้ โรคบิด โรคหัด โรคสุกใส โรคคางทูม โรคไอกรน ฯลฯ
ข้อ ๑๑ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ที่ผ่านการอบรมตามหลักสูตรที่สภาการพยาบาลประกาศกาหนด
๑๑.๑ สาขาที่ศึกษาเฉพาะทาง
๑๑.๒ ผู้ผ่านการอบรมหลักสูตร และได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตร ที่สภาการพยาบาลประกาศกาหนด
๑๑.๓ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและ การผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ตามข้อ ๑๑.๑ และข้อ ๑๑.๒ นอกจากปฏิบัติตามข้อ ๙ และข้อ ๑๐
ได้แล้ว สามารถทาการพยาบาล การรักษาโรคเบื้องต้นและหัตถการ ในสาขาที่ผ่านการศึกษา ฝึกอบรม
ข้อ ๑๒ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ต้องกระทาการรักษาโรคเบื้องต้นต
๑๒.๑ ตรวจวินิจฉัยและบาบัดรักษาโรค ตามมาตรฐานของการประกอบวิชาชีพการพยาบาล ที่สภาการพยาบาลประกาศกาหนด
๑๒.๒ ให้ส่งผู้ป่วยไปรับการบาบัดรักษาจากผู้ประกอบวิชาชีพอื่น เมื่อปรากฏ ตรวจพบ
ข้อ ๑๓ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ถ้าจำเป็นต้องใช้ยาให้ใช้ยาได้ตามคู่มือการใช้ยาที่สภาการพยาบาลประกาศกาหนด
ข้อ ๑๔ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ในการให้ภูมิคุ้มกันโรค ต้องปฏิบัติตามแนวทางการให้ภูมิคุ้มกันโรคที่กระทรวงสาธารณสุขกาหนด
ข้อ ๑๕ ต้องมีบันทึกรายงานเกี่ยวกับประวัติของผู้ป่วย หรือผู้รับบริการ อาการ และ การเจ็บป่วย โรค การพยาบาล การให้การรักษา หรือการให้บริการ วันเวลาในการให้บริการ
หมวดที่ ๔ การประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์
ส่วนที่ ๑ การพยาบาลก่อนการตั้งครรภ์ ระยะตั้งครรภ์
ข้อ ๑๖ ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ให้การผดุงครรภ์แก่หญิงและครอบครัว เมื่อต้องการมีบุตร ก่อนการตั้งครรภ์ ระยะตั้งครรภ์ ด้วยกระบวนการ
๑๖.๑ การตรวจประเมินภาวะสุขภาพของหญิงและคู่สมรสเพื่อวางแผนการมีบุตร
๑๖.๒ การตรวจประเมินภาวะการตั้งครรภ์ด้วยเวชภัณฑ์ทดสอบการตั้งครรภ์
๑๖.๓ การรับฝากครรภ์
ข้อ ๑๗ แนะนำและส่งต่อหญิงมีครรภ์ให้ได้รับการตรวจและการรักษากับผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ตามเกณฑ์การฝากครรภ์ที่กระทรวงสาธารณสุขประกาศกำหนด
ข้อ ๑๘ ส่งต่อหญิงมีครรภ์กลุ่มเสี่ยง ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข หรือการตรวจพบภาวะครรภ์เป็นพิษ ให้ได้รับการรักษาพยาบาลจากผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือส่งต่อไปสถานพยาบาลที่มีความพร้อม เพื่อความปลอดภัยของหญิงมีครรภ์และทารก
ส่วนที่ ๒การพยาบาลระยะคลอด
ข้อ ๑๙ ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง จะกระทำการผดุงครรภ์ได้แต่เฉพาะรายที่ตั้งครรภ์ปกติ และคลอดอย่างปกติ ตลอดจนการดูแลมารดาและทารกแรกเกิด
ข้อ ๒๐ ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง ให้การผดุงครรภ์หญิงมีครรภ์ ระยะก่อนคลอด
๒๐.๑ การประเมินหญิงมีครรภ์
๒๐.๑.๑ การประเมินประวัติการตั้งครรภ์ และประวัติการเจ็บป่วยอื่น ๆที่เกี่ยวข้องกับการตั้งครรภ์และการคลอด
๒๐.๑.๒ การตรวจทางหน้าท้องเพื่อประเมินความพร้อมในการคลอด
๒๐.๒ การประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
ข้อ ๒๑ การพยาบาล ระยะคลอด
๒๑.๑ การพยาบาลหญิงมีครรภ์ ที่ได้รับการชักนาการคลอด
๒๑.๒ การทำคลอด ในรายปกติ เตรียมทำคลอดเมื่อปากมดลูกเปิดสมบูรณ์แล้ว
๒๑.๓ ทาคลอดรก และเยื่อหุ้มทารกโดยใช้วิธี Modified Credé Maneuver
๒๑.๔ การเย็บซ่อมแซมฝีเย็บ ในรายที่มีการฉีกขาดที่ไม่เกินระดับ ๒
๒๑.๕ การประเมินการเสียเลือด
๒๑.๖ การประเมินสัญญาณชีพ หลังคลอดทันทีและก่อนการย้ายออกจากห้องคลอด
ข้อ ๒๒ การช่วยเหลือผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมทำคลอด ในรายที่มีการคลอดผิดปกติ
ข้อ ๒๓ ห้ามผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง กระทาการที่เกี่ยวกับการคลอด
๒๓.๑ การเจาะน้าคร่ำ เพื่อตรวจภาวะ การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
๒๓.๒ การทาคลอดที่มีความผิดปกติ
๒๓.๓ การล้วงรก
๒๓.๔ การกลับท่าของทารกในครรภ์ ทั้งภายในและภายนอกครรภ์
๒๓.๕ การใช้มือกดท้องในขณะช่วยทาคลอด
๒๓.๖ การเย็บซ่อมฝีเย็บที่มีการฉีกขาดระดับ ๓
๒๓.๗ การทาแท้ง
ข้อ ๒๔ ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและ การผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง จะกระทาการช่วยคลอดฉุกเฉินในรายที่มีการคลอดผิดปกติที่ไม่สามารถตรวจพบก่อนการทาคลอด และไม่สามารถหาผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมทาการคลอดได้ภายในเวลาอันสมควร
ส่วนที่ ๓ การพยาบาลมารดาและทารกระยะหลังคลอด
ข้อ ๒๖ ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ชั้นหนึ่ง ให้การพยาบาลกับมารดาหลังคลอดอย่างใกล้ชิด เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน โดยเฉพาะภาวะ ตกเลือดหลังคลอด และหรืออาการอื่นที่อาจจะเกิดขึ้น
ข้อ ๒๗ ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ชั้นหนึ่ง จะต้องใช้ยาทาลายและป้องกั นการติดเชื้อสาหรับหยอดตา หรือป้ายตาทารกแรกเกิดทันที
ข้อ ๒๘ การพยาบาลทารกแรกเกิด โดยการประเมินสัญญาณชีพ ความผิดปกติ หรือความพิการ ที่สามารถมองเห็นได้ชัดเจน และให้มารดาได้สัมผัสโอบกอดทารกและเริ่มให้ดูดนมจากมารดา ภายในชั่วโมงแรกหลังคลอด
ข้อ ๒๙ ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ชั้นหนึ่ง จะต้องบันทึกรายงานเกี่ยวกับประวัติของหญิงตั้งครรภ์ การพยาบาลระยะตั้งครรภ์ การคลอด การพยาบาลหลังคลอด และการให้การบริการตามความเป็นจริง ตามแบบของสภาการพยาบาล และต้องเก็บบันทึกรายงานไว้เป็นหลักฐาน เป็นระยะเวลา ๕ ปี
ข้อ ๓๐ ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ ชั้นสอง และผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและ การผดุงครรภ์ ชั้นสอง ให้กระทำการพยาบาลระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และการพยาบาลหลังคลอดในรายตั้งครรภ์และการคลอดปกติ ในสถานพยาบาลและการเยี่ยมบ้านที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อนตามแผนการพยาบาลมารดาและทารกแรกเกิด เมื่อเป็นการทำร่วมกับผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ห้ามไม่ให้กระทาในกรณีที่เป็นปัญหายุ่งยาก ซับซ้อน หรือตรวจพบความผิดปกติ
ส่วนที่ ๔ การวางแผลครอบครัวและการคัดกรองมารดาทารก
ข้อ ๓๑ ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ชั้นหนึ่ง สามารถกระทาการพยาบาล และการวางแผนครอบครัว
๓๑.๑ การให้คำปรึกษากับคู่สมรสในการวางแผนครอบครัว แบบวิธีธรรมชาติ/การคุมกาเนิด
ด้วยวิธีธรรมชาติไม่ต้องใช้ยาหรืออุปกรณ์
๓๑.๒ การให้บริการวางแผนครอบครัวแบบใช้ยาหรือใช้อุปกรณ์
ข้อ ๓๒ ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ชั้นหนึ่ง สามารถทำการคัดกรองมารดาทารก
๓๒.๑ การทำ Pap smear
๓๒.๒ การประเมินภาวะสุขภาพ ความผิดปกติและความพิการของทารก
ข้อ ๓๓ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นสอง ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์
ชั้นสอง การให้บริการวางแผนครอบครัวแบบใช้ยาหรือใช้อุปกรณ์
๓๓.๑ ยาเม็ดคุมกำเนิด
๓๓.๒ ถุงยางอนามัย
๓๓.๓ วงแหวนคุมกำเนิด
๓๓.๔ แผ่นแปะคุมกำเนิด/ยาคุมกำเนิดชนิดแผ่นแปะผิวหนัง
ส่วนที่ ๕ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคแก่มารดา ทารกและเด็ก
ข้อ ๓๔ ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ชั้นหนึ่ง จะให้ภูมิคุ้มกันโรค ต้องปฏิบัติตามแนวทางการให้ภูมิคุ้มกันโรคที่กระทรวงสาธารณสุขประกาศกาหนด
ข้อ ๓๕ ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ ชั้นสอง ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ชั้นสอง ให้คาแนะนาเรื่องการเข้ารับภูมิคุ้มกันโรคและติดตามให้มารับภูมิคุ้มกันโรค