Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 6 แนวทางการวัดและประเมินสำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ…
หน่วยที่ 6 แนวทางการวัดและประเมินสำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษา
ความหมายของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
กลุ่มเด็กด้อยโอกาส
กลุ่มเด็กที่มีความสามรถพิเศษ
กลุ่มเด็กที่มีความบกพร่องทางการศึกษาทั้ง 9 ประเภท
หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
ดำเนินการด้วยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสมกับสภาพปัญหาความต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษาและศักยภาพของนักเรียน
การประเมินนักเรียนพิจารณาจากพัฒนาการของนักเรียน
อยู่บนพื้นฐานที่สอดคล้องและตอบสนองกับความต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษาของนักเรียน โดยใช้แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) เป็นเครื่องมือในการดำเนินการ เชื่อมโยงกับมาตรฐานและตัวชี้วัดตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
เปิดโอกาสให้นักเรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องตรวจสอบผลการประเมินผลการเรียนรู้
จุดมุ่งหมายเพื่อประเมินระดับความสามารถและความต้องการจำเป็นพิเศษ ปรับปรุงพัฒนานักเรียนและตัดสินผลการเรียน
ให้มีการเทียบโอนผลการเรียนระหว่างสถานศึกษาและรูปแบบการศึกษาต่าง ๆ
สถานศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบการวัดและการประเมินผลการเรียนรู้
ให้สถานศึกษาจัดทำเอกสารหลักฐานการศึกษา เพื่อเป็นหลักฐานการประเมินผลการเรียนรู้รายงานผลการเรียนแสดงวุฒิการศึกษาและรับรองผลการเรียนของนักเรียน
แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้
การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียน
การเรียนซ้ำชั้น
การสอนซ่อมเสริม
การเลื่อนชั้น
เกณฑ์การจบการศึกษา
การให้ระดับผลการเรียน
การรายงานผลการเรียน
การตัดสินผลการเรียน
แนวปฏิบัติในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษแต่ละประเภท
การจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
การกำหนดเกณฑ์และแนวทางการวัดและประเมินผลตามแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
ปรับปรุงพัฒนาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและประเมินผล
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
การประเมิน ทบทวนและปรับปรุงแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
การประเมินระดับความรู้ ความสามารถพื้นฐานและความต้องการจำเป็นพิเศษ
การรายงานผลการจัดการศึกษาตามแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
จุดเด่น คือ ความสามารถหรือศักยภาพในปัจจุบันที่นักเรียนสามารถทำได้ในสาระการเรียนรู้ ทักษะการเรียนรู้
จุดด้อย คือ สิ่งที่นักเรียนไม่สามารถทำได้ในสาระการเรียนรู้ ทักษะการเรียนรู้
วางแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
ผู้ประเมิน/ครุควรตรวจสอบหรือประเมินความสามารถพื้นฐานจากสภาพจริงในหลายสถานการณ์ให้ครอบคลุมก่อนจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
ประเมินความรู้ทักษะและความพร้อมพื้นฐานของนักเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ทักษะการเรียนรู้
เปิดโอกาสนักเรียนแสดงความรู้ความสามารถด้วยวิธีการที่หลากหลาย
ประเมินระดับความรู้ความสามารถและความต้องการจำเป็นพิเศษของนักเรียนเป็นรายบุคคล
แนวทางการวัดและประเมิน
การประเมินพัฒนาการและผลการเรียนรู้ของนักเรียน
การะประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียน
ความสำคัญของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
สำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ขยายการจัดตั้งศูนย์การศึกษาพิเศษเพิ่มขึ้น
โรงเรียนจัดการเรียนการสอนโดยใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษษขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ซึ่งเป็นหลักสูตรอิงมาตรฐาน (Standards-based Curriculum)
พระราชบัญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้กำหนดแนวทางการจัดการศึกษา เกี่ยวกับคนพิการไว้ว่า การจัดการศึกษาต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอภาคกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไม่น้อยกว่า 12 ปี ที่รัฐจะต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
การกำหนดเกณฑ์มาตรฐานสำหรับเด็กปกติทั่วไปยังไม่เหมาะกับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษาที่เรียนรวมอยู่ด้วย
นางสาวณัฐกาญจ์ มาเวียง เลขที่ 7 ค.6305 รหัสนักศึกษา 6340101107