Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 2 พฤติกรรมทางการศึกษา - Coggle Diagram
หน่วยที่ 2
พฤติกรรมทางการศึกษา
การจำแนกพฤติกรรมทางการศึกษา
Benjamin S. Bloom and Other(1971) นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา
(Education Objectives)
ด้านจิตใจหรืออารมณ์ (Affective Domain)
ด้านทักษะหรือการกระท า (Psychomotor Domain)
ด้านสติปัญญา (Cognitive Domain)
KPA
ย่อมาจาก Knowledge Practice Attitude
หมายถึง เกณฑ์การประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนในแต่ละแบบแผนการเรียนรู้ จะประกอบไปด้วย 3 ด้านด้วยกันคือ
การประเมินด้านทักษะและการปฏิบัติ (P)
จะใช้ภาระงานหรือชิ้นงานมาประกอบกับเกณฑ์การให้คะแนน (Rubrics) มาประเมิน
การประเมินด้านเจตคติหรือคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
จะใช้การประเมินตามสภาพจริงซึ่งมีความซับซ้อนกว่า 2 อย่างแรก
การประเมินด้านความรู้ (K) จะนิยมใช้แบบทดสอบในการประเมิน
การวัดที่ยากที่สุดคือ A
Contents
จุดมุ่งหมายของหลักสูตร
จุดประสงค์การเรียนรู้
การจำแนกพฤติกรรมทางการศึกษา
คุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
ความรู้ (Knowledge)
:check:ความรู้เกี่ยวกับวิธีดำเนินการเฉพาะอย่าง (Way and Means of Dealing with Specifics)
ความรู้เกี่ยวกับลำดับขั้นและแนวโน้ม
ความรู้เกี่ยวกับการจำแนกประเภทและจัดกลุ่ม
ความรู้เกี่ยวกับระเบียบแบบแผน
ความรู้เกี่ยวกับเกณฑ์
ความรู้เกี่ยวกับวิธีการ
:check: ความรู้รวบยอดและนามธรรมในแต่ละเนื้อเรื่อง (Universal and Abstractions in a Field)
ความรู้เกี่ยวกับหลักวิชาและข้อสรุปอ้างอิง
ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีและโครงสร้าง
:check:ความรู้เฉพาะเจาะจง (Specifics)
ความรู้เกี่ยวกับคำศัพท์และนิยาม
ความรู้เกี่ยวกับข้อเท็จจริงเฉพาะ
คุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้เป็นเป้าหมายสำคัญของการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ระบุสิ่งผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติได้มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ที่จะต้องให้เกิดแก่ผู้เรียนเมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ตัวชี้วัด จะระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ รวมทั้งคุณลักษณะของผู้เรียน ในแต่ละระดับชั้น
วิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสำคัญของนักเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้ (มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
นำมาวิเคราะห์ขอบเขตของพฤติกรรมที่คาดหวังในแต่ละกลุ่มสาระก็จะพบว่ามีครอบคลุมทั้ง 3 ด้าน ตามแนวการจำแนกพฤติกรรมการเรียนรู้ของบลูม คือ ด้านพุทธิพิสัย ด้านจิตพิสัยและด้านทักษะพิสัย
พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย(Psychomotor Domain)
การปฏิบัติได้ด้วยตนเอง (Mechanism)
การตอบสนองตามแนวชี้แนะ (Guided Response)
การรับรู้ (Perception)
การตอบสนองที่ซับซ้อน (Complex overt Response)
การดัดแปลง (Adaptation)
การรับรู้ (Perception)
การริเริ่ม (Origination)
ความเข้าใจ (Comprehension)
คาดคะเน
การขยายความ (Extrapolation)
การตีความ (Interpretation)
ย่อความ
การแปลความ (Translation)
การนำไปใช้ (Application)
เป็นความสามารถในการนำหลักการ กฎเกณฑ์และวิธีดำเนินการต่าง ๆ ของเรื่องที่ได้รู้มา นำไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ใหม่ได้
การประเมินค่า (Evaluation)
การตัดสินโดยอาศัยข้อเท็จจริงภายในเหตุการณ์
การตัดสินโดยใช้เกณฑ์ภายนอก
การวิเคราะห์ (Analysis)
:check: การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ (Analysis of Relationships)
:check: การวิเคราะห์หลักการ (Analysis of Organizational Principles)
:check: การวิเคราะห์ส่วนประกอบ (Analysis of Elements)
ธรรมชาติของการวัดและประเมินผลการศึกษา
การวัดผลการศึกษาเป็นการวัดที่ไม่สมบูรณ์
การวัดผลการศึกษามีความคลาดเคลื่อน
การวัดผลการศึกษาเป็นการวัดทางอ้อม
การวัดผลการศึกษาเป็นการวัดที่ไม่มีศูนย์แท้หรือศูนย์สมบรูณ์
การวัดผลการศึกษาเป็นสิ่งสัมพัทธ์ (relation)