Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่1 พื้นฐานทางจิตวิทยา - Coggle Diagram
บทที่1
พื้นฐานทางจิตวิทยา
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยา
Pstchology
กรีก Psyche
วิญญาณ/จิตใจ
กรีก Logos
การศึกษา/ศาสตร์
1.ความหมายของจิตวิทยา
เติมศักดิ์ คทวณิช
(2546/12)
เป็นวิชาที่ศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์และสัตว์ ใช้ระเบียบวิธีการศึกษาทางวิทยาศาสตร์
ยุราวดี เนื่องโนราช
(2558/3)
ศาสตร์ที่ศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์และสัตว์หรือ อินทรีย์ (Organism) ใช้กระบวนการทางวิทยาศาตร์
ธัญญภัสร์ ศิรธัชนาโรจน์
(2560/3)
มี2ส่วนหลัก คือ พฤติกรรมของมนุษย์ และกระบวนการทำงานของจิต
สรุป
ศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ ที่สามารถศึกษาทดลองและพิสูจน์หาข้อเท็จจริงได้
2.จุดมุ่งหมายของวิชาจิตวิทยา
ศึกษาในรายวิชาจิตทยา
ทำความรู้จักตัวเอง - เข้าใจผู้อื่น - เข้าใจสภาพแวดล้อม
ศึกษาในรายวิชาจิตทยาทั่วไป
เพื่ออธิบาย ทำความเข้าใจ ทำนาย กำหนดหรือควบคุม
3.ประวัติความเป็นมาของจิตวิทยา 2 สาย
1.ตะวันตก (กรีก) ปรัชญา ความเชื่อเกี่ยวกับมนุษย์
2.ตะวันออก (อินเดีย) ศาสนา คำสอนดำเนินชีวิต
4.พัฒนาการของจิตวิทยา
2.ยุคกลาง
(ค.ศ.1800- ค.ศ.1879)
ดร.วิเฮลม์ วุ้น
บิดาทางจิตทยาเพราะสร้างห้องทดลองที่เมืองไลป์ซิก ประเทศเยอรมัน
ศึก จิต(Mind)
เป้า ส่วนประกอบจิต หน้าที่ของจิต
วิธี ตรรกศาสตร์และวิธีการตรวจพินิจจิตการรายงานทางจิตด้วยตนเอง (Intropection)
เริ่มทดลอง
3.ยุคปัจจุบัน
(ค.ศ.1879-ปัจจุบัน)
จอห์น บี วัตสัน
ศึก พฤติกรรม(Behavior)
เป้า เข้าใจตนเอง ผู้อื่น อยู่ร่วมกันอย่างมีสุข
วิธี ด้านวิทยาศาสตร์และกระบวนการวิจัย
1.ยุคโบราณ
(ก่อน ค.ศ. - ศตวรรษที่19)
พลาโต และ อริสโตเติล
เขียนตำเล่มแรกของโลก ชื่อ De Anima ชีวิต
ศึก วิญญาณ (Soul)
วิธี ตรรกศาตร์ (เหตุผล) และอภิปรัชญา
อามแชร์
เป้า ยกวิญญาณให้สูง
2กลุ่มแนวคิดทางจิตวิทยา
3.กลุ่มพฤติกรรมนิยม
(Behaviorism)
จอห์น บี วัตสัน, อีวาน พาฟลอฟ, บี.เอฟ.สกินเนอร์
พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้มองเห็น
สิ่งแวดล้อม (สิ่งเร้า) ตอบสนองแบบมีเงื่อนไข
วิธีศึกษา
บันทึก สังเกต ทดลอง
ปฏิเสธวิธีการ Introspection
4.กลุ่มเกสตัลท์
(Gestalt Psychology)
แม็กซ์ เวิร์ธ ไทเมอร์
ส่วนรวม ภาพรวม
พิจารณาส่วนรวมแยกส่วนย่อย เอาส่วนรวมเป็นหลัก
วิธีการศึกษา
ใช้การทดลอง
2.กลุ่มหน้าที่จิต
(Functionalism)
วิลเลี่ยม เจมส์ / จอห์นดิวอี้ / เจมส์ แองเจล
การทำงานของจิตสำนึก การคิด การรับรู้ นิสัย อารมณ์ มนุษย์
ผู้พิสูจน์มนุษย์มาจากลิง
การเรียนรู้เกิดจากการกระทำ
(Lrarnig by doing)
ประสบการณ์
(Experience)
สัญชาตญาณ
(Instinct)
5.กลุ่มวิเคราะห์
(Psychoanalysisi)
ซิกมันต์ ฟรอยด์
อธิบายการะพัฒนาบุคลิกภาพ
แรงจูงใจ ความผิดปกติเนื่่องจาก
เก็บกดในวัยเด็ก
จิตสำนึก มองเห็นรับรู้ได้
(Conscious)
จิตใต้สำนึก ไม่อาจรู้สึกได้
(Unconscious)
1.กลุ่มโครงสร้างของจิต
(Structuralism)
ดร.วิลเฮล์มวุ้นท์
ศึกษาองค์ประกอบจิตสำนึก
คือ
รับสัมผัส ความรู้สึก มโนภาพ
วิธีการศึกษา
สังเกต ทดลอง และ
(Introspection)การตรวจพินิจจิต/การรายงานประสบการณ์ทางจิตด้วยตนเอง
7.กลุ่มจิตวิทยาคอกนิทิฟ/พุทธิปัญญานิยม
(Cognitive Psychology)
เพียเจต์ การ์เนอร์ กิลฟอร์ด
ปัญญา การคิด ใช้ภาษา จิตสำนึก
ความคิดสร้างสรรค์และกระบวนการภายในจิตอื่นๆ
6.กลุ่มมนุษย์นิยม
(Humanistic Psychology)
คาร์ล โรเจอร์ และ อับพราฮัมมาสโลว์
เสรีภาพ ความสามารถ ศักยภาพในการตัดสินใจ
อัตตาพัฒนาจาการที่อินทรีย์(Organism) ความรู้สึก นึกคิด และอัตตา
วิธีการศึกษา รวบรวม
วิธีวิจัย วิธีการวิทยาศาสตร์ ให้สำคัญน้อย
3.สาขาของจิตวิทยา
จิตวิทยาทดลองเป็นสาขาแรกๆของจิตวิทยา
1.จิตวิทยาการศึกษา
ประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน
2.จิตวิทยาพัฒนาการ การเจริญเติบโตตั้งแต่ปฎิสนธิจนตาย
3.จิตวิทยาการแนะแนว
เพื่อให้คนรู้จักตนเอง
4.จิตวิทยาสังคม
5.จิตวิทยาการให้คำปรึกษา
ผู้รับคำปรึกษา
6.จิตวิทยาคลินิก
เป็นพฤติกรรมที่ผิดปกติของบุคคล ความผิดปกติของจิต
ค้นหาสาเหตุของปัญหา
ประเมินความผิดปกติในด้านอารมณ์บุคลิกภาพ
เน้นด้านการวินิจฉัย บำบัดรักษาผู้มีปัญหา
7.จิตวิทยาอุสาหกรรมและองค์การ ทำให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงาน
ศึกษาอิทธิพลของสิ่งแวดล้อม ที่มีผลต่อการทำงาน
8.จิตวิทยาการประยุกต์
มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
4.ระเบียบวิธีการทางจิตวิทยา
3.ทดลอง (Experimentation)
4.ทดสอบทางจิตวิทยา
(Psychological Testing)
2.สำรวจ (Survey)
5.การศึกษาประวัติรายกรณี (Case Stydy)
แก้ปัญหาเฉพาะบุคคล
1.สังเกต (Observation)
5.ประโยชน์
1.เข้าใจธรรมชาติของมนุษย์
2.ยอมรับตนเอง
3.ช่วยให้มั้นใจตนเอง
4.วางโครงการการเรียนรู้
5.นำความรู้ไปใช้
6.สามารถคิดได้อย่างลึกซึ้ง
7.เป็นผู้ฟัง
8.ให้คนเข้มแข็ง
9.ทำให้คนเรารู้ทันคนอื่น