Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โครงสร้างตลาด การกําหนดราคาและ ความล้มเหลวของตลาด, นางสาวกัณนิภา นักร้อง…
โครงสร้างตลาด การกําหนดราคาและ
ความล้มเหลวของตลาด
ตลาด
กิจกรรมการตกลงซื้อขายสินค้าและบริการ รวมทั้งปัจจัยการผลิตการที่ผู้ซื้อและผู้ขายสามารถแลกเลี่ยนกันได้สามารถเกิดขึ้นได้ทุกแห่งถ้ามีอุปสงค์และอุปทานตลาดก็เกิดขึ้นได้
ตลาดเชิงเศรษฐศาสตร์ (Economic market)
เป็นแหล่งที่ผู้รับบริการและผู้ผลิตมาพบกนและมีการใช้ทรัพยากรเกิดขึ้นโดยพิจารณาวาการใช้ทรัพยากรในลักษณะใดจึงจะทําให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
โครงสร้างตลาด
แบ่งตามผลผลิต
ได้แก่
ตลาดยา (Product market)
ตลาดปัจจัยการผลิต (Factor market)
ตลาดทุน (Capital/Stock market)
แบ่งตามลักษณะการแข่งขัน
ได้แก่
ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Perfectly Competitive Market)
ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Imperfectly Competitive Market)
ตลาดการผูกขาด (Monopoly)
ตลาดผู้ขายน้อยราย (Oligopoly)
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผู้ขาด (Monopolistic Competition)
การกําหนดราคาสินค้าและบริการทางตลาด
การกำหนดราคาในทางทฤษฎี
ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ผู้ซื้อและผู้ขายมีความรู้เกี่ยวกับสินค้าในด้านคุณภาพและราคาเป็นอย่างดีทําให้เป็นราคาดุลยภาพของตลาด ผู้ขายจะสามารถขายได้ในราคาเดียวเท่านั้น
ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ สินค้าและบริการจะขาย ณ ราคาสูงกว่าต้นทุนเสมอ โดยเฉพาะในตลาดผูกขาดสูงกว่าในตลาดแข่งขันอย่างสมบูรณ์เพราะผู้ผลิตจะสามารถควบคุม
ราคาและปริ มาณที่จะทําให้ราคาสูงกว่าต้นทุน
การกำหนดราคาในทางปฏิบัติ
ได้แก่
Maximize Profit Pricing
Marginal Cost Pricing
Average Pricing
Market Pricing
Cost Plus Pricing
Differential Pricing
อื่นๆ
ความล้มเหลวของตลาด (Market Failure)
หมายถึงการที่ตลาดไม่สามารถทํางานตามกลไกเพื่อนํามาซึ่งการจัดสรรทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพได้หรือสถานการณ์การที่ตลาดไม่อาจนํามาซึ่งความต้องการของสาธารณะได้(ได้สินค้าในปริมาณที่ต้องการและในราคาที่ถูกต้อง) เช่น ราคาตํ่าหรือสูงเกินไป
สาเหตุของความล้มเหลวของตลาด
โครงสร้างของตลาด (market structure) ที่เบี่ยงเบนไปจากตลาดแข่งขันสมบูรณ์
การทํางานของตลาดไม่สามารถสะท้อนต้นทุนหรือผลประโยชน์ที่แท้จริงของทรัพยากรจากผลกระทบต่อภายนอก (externalities)
สิ่งที่ทําให้เกิดความล้มเหลวของตลาด
ได้แก่
Market Power
Externality
Public Goods
Asymmetric Information
ผลของความล้มเหลวของตลาด
การจัดสรรทรัพยากรขาดประสิทธิภาพ
สินค้าราคาแพงและมีปริมาณน้อยกว่าที่ควรจะเป็น
ใช้ทรัพยากรมากเกินไป
ทรัพยากรเสื่อมโทรม
เกิดอันตรายต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม
กิจกรรมที่เป็นประโยชน์มีน้อยกว่าความต้องการของสังคม
การแทรกแซงของรัฐเพื่อแก้ไขความล้มเหลวของตลาด
กฎระเบียบการป้องกนการผูกขาด
การแทรกแซงราคาหรือการควบคุมราคา
นโยบายการส่งเสริมการแข่งขัน
การใช้นโยบายภาษีต่อกิจกรรมที่มีผลกระทบต่อภายนอกในทางลบ
การเป็นผู้ผลิตหรือเป็นผู้จัดหาให้
การสนับสนุนกิจกรรมที่เกิดประโยชน์ต่อสาธารณะ
นางสาวกัณนิภา นักร้อง เลขที่ 1
รหัสนักศึกษา 6301110801001