Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัจจัยกำหนดอุปทานต่อบริการสุขภาพ, นางสาวภานุมาศ สิทธิเม่ง 6312436001 กศ.บป…
ปัจจัยกำหนดอุปทานต่อบริการสุขภาพ
แนวคิดอุปทาน
เส้นอุปทานของสินค้า
โค้งจากล่างซ้ายไปบนขวา
อุปทานตลาด
ปริมาณทั้งหมดของสินค้าชนิดหนึ่งที่ผู้ขายทุกคนนำออกเสนอขายในตลาด ณ ระดับราคาต่างๆ กันในระยะเวลาที่กำหนด
อุปทานส่วนบุคคล
ปริมาณสินค้าที่ผู้ขายแต่ละคนนำออกขายในตลาดณ ระดับราคาใดราคาหนึ่งในเวลาที่กำหนด
ปัจจัยกำหนดอุปทาน
ราคา
กรรมวิธีในการผลิต
ราคาปัจจัยการผลิต
ราคาสินค้าอื่นๆ
จำนวนผู้ขาย
ภาษีและเงินช่วยเหลือ
กฎอุปทานของสินค้า
ปริมาณของสินค้าชนิดหนึ่งที่ผู้ผลิตยินดีและนำออกขายในตลาดตามราคาและเวลาที่กำหนด
แปรผันโดยตรงกับราคา
การเปลี่ยนแปลงของอุปทาน
การเปลี่ยนแปลงราคาสินค้าทำให้ปริมาณการขายเปลี่ยนแปลงไปตามเส้นอุปทาน
การเปลี่ยนแปลงของปัจจัยอื่นนอกจากราคา แล้วทำให้เส้นอุปทานเคลื่อนย้าย
อุปทานของสินค้า
ปริมาณของสินค้าชนิดหนึ่งที่ผู้ผลิตยินดีและนำออกขายในตลาดตามราคาและเวลาที่กำหนด
แปรผันโดยตรงกับราคา
อุปทานส่วนขาด vs อุปทานส่วนเกิน
อุปทานส่วนขาด
สินค้าขาดตลาด
อุปทานส่วนเกิน
สินค้าล้นตลาด
ปัจจัยที่ทำให้อุปทานมากหรือน้อย
เวลาที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจในการผลิต
ระดับการทดแทนระหว่างปัจจัยการผลิต
แนวคิดอุปทานต่อการบริการสุขภาพ
ต่างไปจากอุปทานของสินค้าบริการทั่วไป
การผลิตบริการสุขภาพไม่อาจเก็บสะสมหรือสำรองไว้ได้การผลิตและจำหน่ายต้องมีผู้ซื้อบริการสุขภาพอยู่ด้วย
เหมือนกันอุปทานของสินค้าบริการทั่วไป
คำนึงถึงกระบวนการผลิตต้นทุนการผลิตราคาที่ได้รับจากสินค้าบริการที่ผลิตออกมาขายในตลาด
อุปทานของบริการสุขภาพ ≠ อุปทานของปัจจัยการผลิตบริการสุขภาพ
ลักษณะที่แตกต่างทำให้การผลิตอยู่ภายใต้การผูกขาดของผู้ผลิต
รัฐบาลจึงมักเข้ามาแทรกแซงและควบคุมผู้ผลิตที่อำนาจเหนือตลาด
การควบคุมผู้ผลิตบริการสุขภาพกันเองโดยใช้จริยธรรม (Ethics) และจรรยาบรรณวิชาชีพ
อุปทานของบริการสุขภาพ
Folland
ใช้อำนาจผูกขาด
ผู้ผลิตแบ่งแยกราคา
Fuchs
การอนุญาตการประกอบเวชกรรมของแพทย์
การควบคุมการเข้ารับการศึกษาวิชาแพทย์ศาสตร์
Kessel
ผู้รับบริการจะจ่ายได้ซึ่งทำให้ผู้ผลิตมีกำไรเพิ่มขึ้น
แยกราคาโดยเรียกเก็บค่าบริการตามความสามารถ
ผู้ผลิตบริการสุขภาพส่มารถใช้อำนาจผูกขาดของตนเอง
McGuire
การรับผิดชอบต่อความไม่แน่นอนและความเสี่ยงที่เกิดขึ้น
การรับผิดชอบในฟังก์ชันอรรถประโยชน์ของผู้บริโภค
การควบคุมอุปทานของบริการสุขภาพ
McGuire และคณะ มีความเห็นว่า จรรยาบรรณทางการแพทย์ (Medical ethics) ไม่เป็นเพียงการควบคุมภายใน (Internalized check) พฤติกรรมของผู้ผลิตบริการสุขภาพ
การควบคุมอุปทานของบริการสุขภาพที่ใช้ในประเทศสหรัฐฯ
การควบคุมศักยภาพของโรงพยาบาล
การควบคุมค่าบริการของโรงพยาบาล
กฎหมายป้องกันการผูกขาด (Antitrust Laws)
การควบคุมปริมาณของบริการโรงพยาบาล
เป็นการรับผิดชอบของแพทย์ต่อการกำหนดกระบวนการบริโภค
ตัวอย่างการตั้งราคาของบริการสุขภาพ
ตั้งราคาเป็นไปตามหลักการคุ้มทุน ยอมให้มีการลดหย่อนหรือยกเลิกการเก็บค่ารักษาพยาบาลกับผู้ป่วยบางกลุ่ม
การกำหนดอัตราค่าบริการไม่มีการใช้ข้อมูลต้นทุน
ตั้งราคาไม่ได้ขึ้นอยู่กับหลักเกณฑ์ทางเศรษฐกิจ
ราคาก็เป็นไปตามดุลยพินิจของผู้ที่เกี่ยวข้อง
นางสาวภานุมาศ สิทธิเม่ง 6312436001 กศ.บป.พิเศษสาธารณสุขศาสตร์