Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
2.การพยาบาลมารดาหลังคลอดที่มีภาวะแทรกซ้อน, นางสาววราภรณ์ มากยิ่ง เลขที่ 48…
2.การพยาบาลมารดาหลังคลอดที่มีภาวะแทรกซ้อน
มดลูกไม่เข้าอู่ (Subinvolution)
สาเหตุ/ปัจจัยส่งเสริม
การตกเลือดหลังคลอด
มารดามีการติดเชื้อหลังคลอด
มารดามีบุตรหลายคน
การมีเนื้องอกมดลูก
การไม่เลี้ยงลูกด้วยนมมารดา
มารดาเคยตั้งครรภ์แฝด แฝดน้ำ
อาการและอาการแสดง
มดลูกมีขนาดใหญ่ นุ่ม
ระดับยอดมดลูกไม่ลดลง หรือภายใน 2 สัปดาห์ ยังคลำพบ
มีอาการปวดมดลูก
มีอาการกดเจ็บ ปวดหลัง ปวดหน่วงท้องน้อย
น้ำคาวปลามีจำนวนมากผิดปกติ ออกนานมาก กว่าเกิน 2
สัปดาห์
มีอาการติดเชื้อ
น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น
การวินิจฉัย
หลังคลอด 4-6 สัปดาห์ ยังคลำพบยอดมดลูกเหนือหัวเหน่า
สัมผัสนุ่ม
น้ำคาวปลาสีไม่จางลง ภายใน 2 สัปดาห์หลังคลอด
การรักษา
ให้ยาช่วยการบีบตัวของมดลูก Methergin 0.2 mg รับประทานทุก 4 ชั่วโมง
ให้ยาปฏิชีวนะในรายที่มีการติดเชื้อเยื่อบุโพรงมดลูก
ขูดมดลูกในกรณีมีเศษของรกค้างในโพรงมดลูก
การพยาบาล
1.ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
2.วัดระดับยอดมดลูกอย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง
3.ประเมินกระเพาะปัสสาวะให้ว่าง
4.แนะนำให้ถ่ายปัสสาวะเมื่อรู้สึกอยากถ่ายทันที
5.แนะนำให้มารดาตะแคงกึ่งคว่ำ (Sim's Position)
6.กระตุ้นให้ทารกดูดนมมารดาบ่อยๆ
7.แนะนำการคลึงมดลูกด้วยตัวเอง
8.แนะนำให้สังเกตปริมาณน้ำคาวปลา และสี กลิ่น
9.แนะนำการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ พักผ่อนให้เพียงพอ
10.ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษาของแพทย์
การตกเลือดหลังคลอด (Postpartum hemorrhage)
แบ่งเป็น 2 ระยะ
Early or immediate or primary postpartum hemorrhage (in 24 hrs. Postpartum period)
Late or secondary postpartum hemorrhage (more than 24 hours to 6 weeks)
ระดับความรุนแรง
ระดับเล็กน้อย (mild PPH) สูญเสียเลือดตั้งแต่ 500 มล ขึ้นไป
ระดับรุนแรง (severe PPH) สูญเสียเลือดตั้งแต่ 1,000 มล ขึ้นไป
ระดับรุนแรงมาก (very severe or major PPH) สูญเสียเลือดตั้งแต่ 2,500 มล ขึ้นไป
อาการและอาการแสดง
มีการสูญเสียเลือดประมาณ 50 – 80 ml./hr.
คลำไม่พบยอดมดลูก
ความดันโลหิตลดลง ชีพจรเบา เร็ว วิงเวียน ตัวเย็น
ปัสสาวะออกน้อย
การดูแลรักษา
1.ประเมินภาวะซีดและสัญญาณชีพเป็นระยะ
2.ประเมินทางเดินหายใจ การหายใจและระบบไหลเวียนของโลหิต
เปิดหลอดเลือดด้วยเข็มเบอร์ใหญ่ (16 หรือ 18)
ให้สารนํ้าและพร้อมให้เลือดทดแทนได้เพียงพอ
ให้ออกซิเจน สวนปัสสาวะ
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น CBC
สาเหตุ
Tone คือ สาเหตุเกี่ยวกับความผิดปกติของการหดรัดตัวของมดลูก
Trauma คือ สาเหตุเกี่ยวกับการฉีกขาดของช่องทางคลอด
Tissueคือ สาเหตุที่เกี่ยวข้องกับรก เยื่อหุ้มรก
Thrombin คือ สาเหตุเกี่ยวกับการแข็งตัวของเลือดผิดปกต
การพยาบาล
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
ประเมินปริมาณเลือดที่ออก
ให้สารน้ําทางหลอดเลือดดํา
บันทึกปริมาณน้ําเข้า – ออก
จัดท่าในท่านอนราบเพื่อให้เลือดไปเลี้ยงหัวใจและสมองอย่างเพียงพอ
6.ใส่สายสวนปัสสาวะ
7.ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก Oxytocine
8.เจาะเลือดส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
9.ให้ยาปฏิชีวนะป้องกันการติดเชื้อ
10.U/S เพื่อดูความผิดปกติในโพรงมดลูก
ชีแฮน ซินโดรม (Sheehan’s Syndrome)
กลุ่มที่มีความเสี่ยง
สตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะตกเลือดในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด หรือระยะหลังคลอดอย่างรุนแรง
มีภาวการณ์แข็งตัวของเลือดผิดปกติ
เป็นเบาหวานตั้งแต่อายุน้อย
อาการและอาการแสดง
ไม่มีน้่านมไหลหลังคลอด
ไม่มีประจ่าเดือนหลังคลอด
พูดช้า คิดช้า เซื่องซึม เดินช้า กินจุ อ้วน ผมร่วม
การรักษา
การตรวจพิเศษ หรือ การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจโดยใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI)
หลอดเลือดดําอักเสบ (Thrombophlebitis)
ปัจจัยร่วม
เคยมีประวัติการอักเสบของหลอดเลือดดำมาก่อน
มีหลอดเลือดดำขอดโป่งพอง
ได้รับฮอร์โมนเอสโตรเจน
เคยผ่าตัดเกี่ยวกับช่องท้องและอุ้งเชิงกราน
ปัจจัยเสี่ยง
มีประวัติลิ่มเลือดอุดตันในร่างกาย
โรคอ้วน อายุมาก
ไม่เคลื่อนไหวร่างกายนานๆ
หลังคลอด หลังผ่าตัด
อาการและอาการแสดง
SVT
พบร่วมกับคนที่มีประวัติเส้นเลือดขอดอักเสบ
เส้นเลือดดำขนาดใหญ่ที่ขา
ปวด บวม แดง ร้อน
บวมตึง แข็ง
DVT
พบร่วมกับมารดาหลังคลอดที่มีประวัติลิ่มเลือดอุดตัน
พบมากที่ femoral vein
มีไข้ หนาวสั่น ซีด ปวดบวมที่ขา
Positive Homan’s sign ปวดที่เท้า
การตรวจ
การตรวจอัลตราซาวด์หลอดเลือดดำ
เจาะเลือดเพื่อตรวจค่าดีไดเมอร์ (D-dimer)
การถ่ายภาพรังสีหลอดเลือดด
ตรวจ CT scan หรือ MRI
การรักษาและการพยาบาล
SVT
ให้นอนยกเท้าสูงเหนือหัวใจ
ประคบร้อน
ใส่ถุงน่องประคับประคอง
ให้ยาแก้ปวด
DVT
ให้นอนยกเท้าสูงเหนือหัวใจ
ประคบร้อน
ให้ยาละลายลิ่มเลือด
ให้ยาปฏิชีวนะถ้ามีไข้
ติดตามผล PT, PTT เป็นระยะ
ผ่าตัดในรายที่มีอาการรุนแรง
การพยาบาล
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมความสุขสบาย ได้แก่ ให้ยาแก้ปวด นอนพักยกขาสูง ประคบร้อน
กรณีมีการอักเสบของหลอดเลือดส่วนลึก แพทย์อาจให้ยาต้านการแข็งตัวของหลอดเลือด
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
การให้การพยาบาลตามอาการ และอธิบายเกี่ยวกับอาการที่เป็น
ความผิดปกติทางจิตใจในระยะหลังคลอด
อารมณ์เศร้าหลังคลอด (Postpartum blues)
เกิดได้ภายหลังคลอด 1-2 ชม. ถึง 2 สัปดาห์
สาเหตุส่งเสริม
การเปลี่ยนแปลงระดับฮอร์โมนต่อมไร้ท่อ
ความเครียดทางจิตใจหลังคลอด
ความเครียดจากสังคมและสิ่งแวดล้อม
เกิดจากการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายและจิตใจ
ความเหนื่อยล้า ไม่สุขสบาย
อาการคงอยู่ไม่เกิน 2 สัปดาห์ และไม่มีผลกระทบที่อาการคงอยู่ไม่เกิน 2 สัปดาห์ และไม่มีผลกระทบที่ร้ายแรง
อาการและอาการแสดง
ร้องไห้ง่ายโดยไม่ทราบสาเหตุ
อารมณ์แปรปรวน หงุดหงิด
เป็นอยู่เพียงชั่วคราวและดีขึ้นได้เองในเวลาไม่เกิน 2 สัปดาห์
การพยาบาล
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการดูแลบุตรและตนเองในระยะหลังคลอด
ส่งเสริมให้บุคคลในครอบครัวโดยเฉพาะสามีให้กำลังใจ
คอยสังเกตอาการด้านอารมณ์ของมารดาหลังคลอด
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด (Postpartum depression)
รบกวนความเป็นอยู่และการเลี้ยงดูทารก
พบได้ทุกระยะตลอด 1 ปี แรกหลังคลอด
เกิดมากที่สุดประมาณ 4 สัปดาห์หลังคลอด
อาการและอาการแสดง
ความสนใจต่อสิ่งแวดล้อมมีน้อย ไม่มีสมาธิ อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย
ไม่สนใจผู้อื่น ไม่มีการตอบสนองทางด้านอารมณ์เหมือนปกติ
มีความรู้สึกอย่างรุนแรงว่าตนเองไร้ค่า
มีความกลัวและวิตกกังวลอย่างรุนแรง
รู้สึกเบื่ออาหาร รับประทานอาหารได้น้อย
เป็นความเบี่ยงเบนด้านอารมณ์ ความคิดและการรับรู้
สาเหตุส่งเสริม
มารดาหลังคลอดครรภ์แรก / มีประวัติซึมเศร้าหลังคลอด
รายที่มีความรู้สึกสองฝักสองฝ่ายในการตั้งครรภ์
ขาดการประคับประคองจากญาติ คู่สมรส
ขาดสัมพันธภาพกับบิดา มารดา หรือคู่สมรส
มีความรู้สึกขาดความพึงพอใจในตนเอง
มีความเครียดทางจิตใจ เช่น ปัญหาชีวิตสมรส
การรักษา
ให้ยาที่ออกฤทธิ์ต้านทานภาวะซึมเศร้า ได้แก่Isocarboxazind, Phenelzine, Amitriptyline
ทำจิตบำบัด (Psychotherapy)
เพิ่มการช่วยเหลือสนับสนุนทางด้านสังคม
ให้คำปรึกษาทางจิตเวชแก่มารดาหลังคลอดและสมาชิกของครอบครัว
การพยาบาล
ให้โอกาสมารดาหลังคลอดได้ซักถามและมีส่วนร่วมในการเตรียมตัวเพื่อเป็นมารดาที่สมบูรณ์
ดูแลให้ได้รับการพักผ่อนที่เพียงพอ
ดูแลให้ได้รับความสุขสบาย
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าหลังคลอด
ส่งเสริมให้กำลังใจให้มารดารู้สึกว่าตนเป็นคนสำคัญในการดูแลบุตร
สังเกตอาการอย่างใกล้ชิดในรายที่มีอาการรุนแรง
ภาวะจิตผิดปกติหลังคลอด (Postpartum psychosis)
อาการรุนแรงต่อเนื่องมาจากภาวะอารมณ์เศร้าและภาวะซึมเศร้าหลังคลอดที่ให้การดูแลรักษาช้าเกินไป
พบบ่อยใน 2 สัปดาห์แรกหลังคลอด
อาการจำเพาะ “Bipolar disorder” “manic-depressive illness”
อาการและอาการแสดง
อาการแบบซึมเศร้า – เศร้ามาก เบื่อหน่ายทุกอย่าง เบื่ออาหาร
อาการแบบแมเนีย – อารมณ์สนุกสนานร่าเริงผิดปกติ และมีอารมณ์หงุดหงิด
อาการที่แตกต่างจากภาวะซึมเศร้าหลังคลอดคือ การรับรู้ผิดปกติ
มักเริ่มเกิดอาการขึ้นในระยะ 48-72 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
สาเหตุ
เคยมีประวัติเป็นโรคจิตหลังคลอด
มีประวัติเป็นไบโพลาร์
สตรีที่มีบุคลิกภาพแปรปรวนอยู่ก่อนแล้ว
มีความเครียดในระยะตั้งครรภ์
มีประวัติบุคคลในครอบครัว ญาติใกล้ชิดป่วยด้วยไบโพร์ลาร์
การรักษา
การรักษาด้วยยา ยาที่ใช้รักษาคือ lithium , antidepressants
การให้คำปรึกษาทางจิตเวช
ในรายที่มีความคิดฆ่าตัวตายอาจต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลที่มี เครื่องรักษาด้วยไฟฟ้า (electroconvulsive therapy : ECT)
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับการตอบสนองด้านความจำเป็นพื้นฐานประจำวัน
ให้ความเป็นกันเอง ความใกล้ชิด
รับฟังและให้ระบายความรู้สึก และปัญหา
ส่งเสริมและกระตุ้นให้เข้ากลุ่มจิตบำบัด
อธิบายให้สามีและญาติเข้าใจและทราบถึงวิธีการรักษา
ดูแลให้ยาตามแผนการรักษา
ประคับประคองจิตใจญาติของมารดาหลังคลอด
แนะนำแหล่งให้ความช่วยเหลือ
ส่งต่อเพื่อติดตามเยี่ยมที่บ้าน
นางสาววราภรณ์ มากยิ่ง เลขที่ 48 รหัสนักศึกษา 61128301050