Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีภาพของภาวะผิดปกติระบบหัวใจและหลอดเลือด, นางสาววรรณภา แหลมกีก่ำ…
พยาธิสรีภาพของภาวะผิดปกติระบบหัวใจและหลอดเลือด
ความสำคัญของระบบไหลเวียน
เซลล์ของร่างกายจะทำงานอยู่ได้ต้องได้รับออกซิเจน สารอาหาร และอยู่สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม ระบบไหลเวียนจะทำหน้าที่นำออกซิเจน และสิ่งจำเป็นในการดำรงชีวิตไปเลี้ยงเซลล์ที่เป็นส่วนประกอบต่างๆของร่างกาย
ดังนั้นถ้ามีเหตุที่ทำให้หัวใจเต้นผิดปกติ หัวใจหยุดเต้น ปริมาณเลือดลดลง หรือเส้นเลือดไม่สามารถรับเลือดที่ส่งมาได้ เช่น เกิดการฉีกขาด หรืออุดตัน ย่อมทำให้อวัยวะส่วนนั้นเกิดอันตรายและถ้าไม่แก้ไขก็อาจเจ็บป่วยถึงชีวิตได้
คำศัพท์
ที่ควรทราบ
Afterload = แรงต้านการบีบตัวของหัวใจห้องล่างซ้าย
Aneurysm = การป่งพองของผนังหลอดเลือด
Atherosclerosis = การแข็งตัวของหลอดเลือดแดง
Congestion = การคั่งของน้ าหรือเลือดในส่วนต่าง ๆของร่างกาย
Embolus = ลิ่มเลือด ฟองอากาศ
ไขมัน ที่ลอยอยู่ในหลอดเลือด
Infarction = การตายของเนื้อเยื่อ
จากการขาดออกซิเจน
Ischemia = การได้รับเลือดไป
เลี้ยงไม่เพียงพอ
Orthopnea = เหนื่อยนอนราบไม่ได้
Paroxysmal nocturnal dyspnea = หายใจ
ลำบากขณะนอนหลับเมื่อนอนราบปกติ
Plaque = แผ่นนูนที่เกิดขึ้นบนพื้นผิวของ
อวัยวะต่างๆ
Preload = แรงดันในหัวใจห้องล่างซ้าย เมื่อหัวใจคลายตัวเต็มที่
Septum = ผนังกั้น
Stenosis = การตีบแคบของส่วนที่เป็นท่อ หรือรู
Varicose = การพองตัวและคดงอ
ส่วนประกอบของหัวใจ
ระบบไหลเวียนโลหิตประกอบด้วย
หัวใจ (heart)
หลอดเลือดแดง (artery)
หลอดเลือดดำ(vein)
หลอดเลือดฝอย (blood capillary)
วิธีการประเมินการทำงานของหัวใจที่ควรทราบ
การฟังเสียงหัวใจ
การจับชีพจร
การวัดความดันโลหิต
ความผิดปกติของหลอดเลือด
การหนาตัวของผนังหลอดเลือดแดง
(Artherosclerosis)
ความผิดปกติของระบบไหลเวียน
thrombosis
embolism
infarction
การหนาตัวของผนังหลอดเลือด
ภาวะที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของผนังหลอดเลือด ทำให้ผนังหลอดเลือดชั้นในหนาตัวขึ้นเรื่อย ๆ มีไขมันไปสะสมระหว่างหลอดเลือดเป็นไขมัน จนในที่สุดทำให้เกิดหลอดเลือดตีบตัน เป็นสาเหตุทำให้เกิดอาการของอวัยวะต่าง ๆ ขาดเลือดเกิดขึ้น
ผลกระทบของความผิดปกติของผนังหลอดเลือดต่อสุขภาพ
อวัยวะที่ได้รับผลกระทบมากที่สุด คือ หัวใจ สมอง ไต ลำไส้เล็ก และ lower extremities ซึ่งเกิดพยาธิสภาพ
Abdominal aorta/Terminal aorta
Coronary artery
Angina pectoris , Myocardial infarction
Carotid และ Vertebral artery
CVA หรือ Stroke
Renal artery
Hypertension Renal ischemia
Mesenteric artery
Intestinal Ischemia ,Peritonitis
หลักการรักษาพยาบาล
หลักการรักษาภาวะ atherosclerosis คือการทำให้ผนังหลอดเลือดบางลง เพื่อเพิ่ม งวดของหลอดเลือด โดยการท าผ่าตัดเพื่อดูดเอา plaque ออก (endarterectomy) หรือ ท าการตัดต่อเส้นเลือด (Surgical bypass) การทำ
Balloon angioplasty และ การทำ endovascular stent
ผู้ที่มีแนวโน้มว่าจะ มีโอกาสเกิดภาวะ atherosclerosis เนื่องจากมีระดับไขมันในเลือดสูง การแนะนำให้ปรับพฤติกรรมสุขภาพใหม่เป็นบทบาทของพยาบาล โดยเน้นการออกกำลังกาย การลดปัจจัยเสี่ยงต่างๆ
ภาวะความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตตัวบน ( Systolic Pressure ) สูงกว่า 140 มิลลิเมตรปรอท และ หรือ
ความดันโลหิตตัวล่าง ( diastolic Pressure ) สูงกว่า 90 มิลลิเมตรปรอท
ชนิดของความดันโลหิตสูง
Primary hypertension หรือ Essential hypertension
เป็นความความดันโลหิตสูงชนิด
ไม่ทราบสาเหตุ ซึ่งพบเป็นส่วนใหญ่ของผู้ป่วยที่เป็นความดันโลหิตสูง
2.Secondary hypertension
เป็นความดันโลหิตสูงชนิดที่ทราบสาเหตุ ซึ่งมีสาเหตุจากโรคไต
พยาธิสรีรภาพ
ความดันโลหิตสูงชนิดนี้ไม่ทราบกลไกการเกิดแน่นอน แต่มีการศึกษาหลายทฤษฎ
Genetic defect
มีความผิดปกติของไตเองตั้งแต่กำเนิด ไม่สามารถ excrete sodium และน้ำได้
Sympathetic nervous system
มี overactivity เพิ่มการหลั่งของสาร adrenaline และ Noreadrenaline มากกว่าปกติ
Renin angiotensin system
ผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูงชนิด
ไม่ทราบสาเหตุ โดยแบ่งตามระดับเรนินว่าสูง ปกติหรือต่ำ
ความดันโลหิตต่ำจากการเปลี่ยนท่า
พบในผู้ป่วยโรคพาร์กินสัน (Parkinson’s disease) เกี่ยวข้องกับการเสื่อมของระบบประสาทอัตโนมัติ ซึ่งจัดเป็นชนิด neurogenic orthostatic hypotension โดยเกิดจากการหลั่ง norepinephrine จากเซลล์ประสาทซิมพาเทติก (sympathetic neurons) ไม่เพียงพอขณะอยู่ในท่ายืน ทำให้เกิดความดันโลหิตต่ำขณะอยู่ในท่ายืน และภาวะ OH ที่พบในผู้ป่วยโรคพาร์กินสันอาจเกี่ยวข้องกับการที่ผู้ป่วยมีปัจจัยส่งเสริมทำให้เกิดความดันโลหิตต่ำ
ความผิดปกติอื่น ๆ ของหลอดเลือดที่ควรทราบ
Venous thrombosis
Thromboangitis obliterans
Aortic aneurysm
Kawasaki’s disease
Raynaud’s syndrome
Takayasu’s disease
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
โรคที่เกิดขึ้นเนื่องจากหลอดเลือดเลี้ยงหัวใจตีบหรือตัน ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจมีเลือดไปเลี้ยงลดลงหรือไม่มีเลย เป็นผลให้การทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจผิดปกติ หากรุนแรงทำให้เกิดกล้ามเนื้อหัวใจตายได้ การที่หลอดเลือดเลี้ยงหัวใจตีบหรือตันนั้น ส่วนใหญ่แล้วเกิดจากหลอดเลือดแข็งตัวขึ้น เนื่องจากมีไขมันสะสมในผนังด้านในของหลอดเลือด เป็นผลให้ทางที่เลือดไหลผ่านแคบลง เลือดไหลไม่สะดวก กล้ามเนื้อหัวใจจึงได้รับเลือดน้อยกว่าปกติ นอกจากนั้นยังอาจเกิดจากเกร็ดเลือดและลิ่มเลือดอุดตันอีกด้วย
ลิ้นหัวใจพิการ
จะมีความผิดปกติเกิดขึ้นตั้งแต่อยู่ในครรภ์ โดยสาเหตุของการเกิดยังไม่ทราบแน่ชัด แต่ได้มีการคาดการณ์เอาไว้ว่าอาจเกิดจากคุณแม่ที่มีความผิดปกติตอนตั้งครรภ์
ระบบไฟฟ้าหัวใจ
หัวใจของคุณมีระบบไฟฟ้าของตัวเองที่ไม่ได้ถูกสั่งงานโดยสมอง ระบบไฟฟ้าของหัวใจทำหน้าที่กำกับจังหวะการเต้นของหัวใจ
ภาวะหัวใจล้มเหลว
ภาวะหัวใจล้มเหลวสามารถแบ่งได้หลายชนิด แต่หากใช้การแบ่งตามระยะเวลาที่มีอาการสามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ
ภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน (acute heart failure) เป็นภาวะหัวใจล้มเหลวที่มีอาการเกิดขึ้นใหม่อย่างรวดเร็วหรือมีภาวะหัวใจล้มเหลวที่มีอาการคงที่แต่กลับแย่ลงในเวลาไม่นาน
ภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง ( chronic heart failure) พบได้ในผู้ป่วยที่เคยได้รับการวินิจฉัยว่ามีภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันมาก่อนหรือไม่ก็ได้ แต่ในขณะที่ทำการวินิจฉัยผู้ป่วยมีอาการของภาวะหัวใจล้มเหลวและ/หรือมีการทำงานที่ผิดปกติไปของหัวใจคงอยู่เป็นเวลานาน
นางสาววรรณภา แหลมกีก่ำ UDA6380063