Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 หลักการแนวคิดอาชีวอนามัยและความปลอดภัย, นางสาวภานุมาศ สิทธิเม่ง…
บทที่ 1
หลักการแนวคิดอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ความหมาย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (Occupational Health and Safety) หมายถึง สภาพที่สมบูรณ์ดีทั้งทางร่างกาย จิตใจ สังคมและจิตวิญญาณ (ปัญญา) ของผู้ประกอบอาชีพทั้งมวล โดยการดูแลสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของคนทำงาน ให้ปราศจากภัยคุกคาม อันตราย และความเสี่ยงใด ๆ รวมทั้ง อุบัติเหตุและโรคจากการทำงาน และความปลอดภัยนอกการทำงาน พร้อมทั้งอยู่ในสังคมอย่างมีความสุขทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ (ปัญญา)
ความสำคัญของงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
2.เพื่อให้ผู้ใช้แรงงานได้ทำงานที่มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะ
3.เพื่อส่งเสริมสุขภาพกายและจิตใจของผู้ใช้แรงงาน ตลอดจนเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีให้เกิดขึ้นในหมู่ผู้ใช้แรงงานทุกสาขาอาชีพ
1.เพื่อคุ้มครองผู้ใช้แรงงานไม่ให้ทำงานที่เสี่ยงต่อความปลอดภัยต่าง ๆ
4.เพื่อป้องกันปัญหาสุขภาพอนามัยหรือความผิดปกติของผู้ใช้แรงงานอันเนื่องมาจากการทำงาน
ประโยชน์ของอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน
ผลผลิตเพิ่มขึ้น
4.ผลกำไรเพิ่มมากขึ้น
3.ค่าใช้จ่ายลดลง ต้นทุนต่ำ
คุณภาพชีวิตของพนักงานดีขึ้น
ลดการสูญเสียทรัพยากรมนุษย์ของชาติ
6.ภาพพจน์ขององค์กรที่ดี
เศรษฐกิจของประเทศชาติโดยรวมดีขึ้น คือ ชื่อเสียง ความเชื่อมั่นจากนักลงทุนต่างชาติ
หลักการการดำเนินงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาศัยหลักการ 3 หลักการในการดำเนินงาน
ประเมิน (Evaluation)
วบคุม (Control)
ารตระหนัก (Recognition)
ILOและ WHO ได้กำหนดแนวคิดหลักในการดำเนินด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
4.การจัดงาน (Placing)
5.ปรับงานให้เข้ากับคน และปรับคนให้เหมาะสมกับสภาพการทำงาน (The Adaptation of work to man and of each man to his job)
3.ปกป้องคุ้มครอง (Protection)
6.ส่งเสริมและธำรงไว้ ซึ่งสุขภาพและความสามารถในการทำงานของคนงาน
2.การป้องกัน (Prevention)
7.ปรับปรุงแก้ไขสิ่งแวดล้อมในการทำงานและตัวคนงานเองให้เกิดความปลอดภัย และมีสุขภาพที่ดี
1.การส่งเสริม (Promotion)
8.พัฒนาการจัดงาน (Work organizations)
ประวัติความเป็นมา
ประวัติการดำเนินงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในต่างประเทศ
การดำเนินงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยเกิดขึ้นครั้งแรกในโลกในช่วง 400 ปีก่อนคริสตกาล โดย Hippocrates
ค.ศ. 1700 Bernardo Ramazzini บิดาแห่งแพทย์อาชีวะเวชศาสตร์ ได้เขียนตำราเล่มแรกที่ครอบคลุมงานด้าน อาชีวอนามัยและความปลอดภัย แปลเป็นไทยว่า โรคของคนประกอบอาชีพ
ค.ศ. 1970 ออกพระราชบัญญัติอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ประวัติการดำเนินงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในประเทศไทย
พ.ศ. 2536ประเทศไทยได้มีการนำเอาประกาศของกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม เรื่องอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมในการทำงานมาใช้
22 ตุลาคม 2556 ได้ออกกฎกระทรวงเพิ่มเติมอีก 1 ฉบับ ได้แก่ กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวสารเคมีอันตราย พ.ศ. 2556
ปัจจุบันกระทรวงแรงงานได้ออกกฎกระทรวงที่ออกมาตาม พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัย 2555
นางสาวภานุมาศ สิทธิเม่ง 6312436001 กศ.บป.พิเศษ สาธารณสุขศาสตร์