Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบการเรียนการสอน - Coggle Diagram
ระบบการเรียนการสอน
ตัวอย่างระบบการเรียนการสอน
8.ระบบการเรียนการสอนของแผนจุฬาฯ โดยชัยยงค์ พรหมวงศ์
ชัยยงค์ พรหมวงศ์ สรุปว่า วิธีการสอนโดยใช้ชุดการสอนดีกว่าการสอนด้วยวิธีธรรมดา ระบบการจัดการเรียนการสอนแผนจุฬาฯ ประกอบด้วยขั้นตอนสำคัญ 10 ขั้นตอน ดังนี้
1.วิชา
2.หน่วย
3.หัวเรื่อง
4.มโนทัศน์และหลักการ
5.วัตถุประสงค์
6.กิจกรรมการเรียน
7.การประเมินผล
8.สื่อการสอน
9.ห้องเรียน
10.นำไปใช้
9.ระบบการเรียนการสอน โดยสงัด อุทรานันท์
สงัด อุทรานันท์ ได้เสนอองค์ประกอบที่สำคัญ ๆ ในการจัดการเรียนการสอน 10 ประการด้วยกันคือ
1.ลักษณะของผู้เรียน
2.จุดมุ่งหมายของการสอน
3.เนื้อหาสาระที่จะสอน
4.การเตรียมความพร้อม
5.การดำเนินการสอน
6.การสร้างเสริมทักษะ
7.กิจกรรมสนับสนุน
8.การควบคุมและตรวจสอบ
9.สัมฤทธิ์ผลของการสอน
10.การปรับปรุงแก้ไข
7.ระบบการเรียนการสอนของกานเยและบริกส์
(Gagne and Briggs)
ระบบนี้เป็นระบบที่ครอบคลุมการจัดระบบการเรียนการสอนในวงกว้างตั้งแต่การเริ่มวิเคราะห์ความต้องการของผู้เรียนเพื่อกำหนดวัตถุประสงค์ไปจนถึงการทดลองปรับปรุงแผนการเรียนการสอนให้ได้ผลเพื่อนำไปเผยแพร่ใช้ในวงกว้างต่อไปองค์ประกอบของระบบมีอยู่หลายระดับดังนี้
ระดับระบบ
2 .วิเคราะห์แหล่งทรัพยากร อุปสรรคและข้อจำกัดต่าง ๆ
3.กำหนดขอบข่ายของหลักสูตรและรายวิชาต่าง ๆ
วิเคราะห์ความต้องการ เป้าหมาย และจัดลำดับความสำคัญ
ระดับรายวิชา
4.กำหนดโครงสร้างของรายวิชา
5.วิเคราะห์จุดมุ่งหมายของรายวิชา
ระดับบทเรียน
7.จัดเตรียมแผนการสอนหรือโมดูล (ชุดการสอน)
8.เลือกและจัดทำสื่อและวัสดุการเรียนการสอน
9.วัดและประเมินผล
6.ระบุวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
ระดับชั้นเรียน
10.การเตรียมครู
11.การประเมินผลเพื่อการปรับปรุง
12.การทดสอบ การปรับปรุง
13.การประเมินผลเพื่อตัดสิน
14.การจัดระบบและการเผยแพร่ระบบ
10.ระบบการเรียนการสอนโดยสุมน อมรวิวัฒน์
ปัจจัยภายใน
คิดแบบแยกแยะ
คิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย
คิดแบบอริยสัจจ์
ปัจจัยภายนอก
บุคลิกภาพ
คุณธรรม
ความรู้
วิธีการสั่งสอน
บรรยากาศ
แรงจูงใจ
อิสรภาพภายนอก
ปรับตัวได้กับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับตัวได้ต่อความเจริญและการเปลี่ยนแปลง
นจากพันธนาการของระบบสังคมที่เบียดเบียน
สามารถเสวยประโยชน์จากความเจริญอย่างประสานกลมกลืนกับธรรมชาติ
อิสรภาพภายใน
จิตหลุดพ้นจากความอยาก ความโลภ และความหลงผิด
เป็นนายเหนือธรรมชาติภายในตัวเอง
จิตใจสงบแจ่มใส
6.ระบบการเรียนการสอนของเคมพ์ (Kemp)
่กำหนดองค์ประกอบของการเรียนการสอนไว้ 9 ประการประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆดังนี้
6.เลือกกิจกรรมและแหล่งวิชาการสำหรับการเรียนการสอนเพื่อจะนำเนื้อหาวิชาไปสู่จุดหมายปลายทางที่วางไว้
4.กำหนดเนื้อหาวิชาที่สนับสนุนวัตถุประสงค์ในแต่ละข้อ
3.ระบุจุดมุ่งหมายของการเรียนการสอนในเชิงพฤติกรรม
8.ประเมินผลการเรียนของผู้เรียนว่าบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพียงใด
ศึกษาคุณลักษณะของผู้เรียน
9.พิจารณาดูว่าควรจะได้มีการแก้ไขปรับปรุงแผนการเรียนการสอนให้ดีขึ้นอย่างไร
1.กำหนดหัวข้อที่จะสอนได้เขียนวัตถุประสงค์ทั่วไป
5.ข้อสอบผู้รับความรู้ความสามารถก่อนที่จะทำการสอน
7.ประสานงานในเรื่องต่าง ๆ เช่น การเงิน บุคลากร อาคาร สถานที่ เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ และดำเนินงานไปตามแผนการที่กำหนดไว้
5.ระบบการเรียนการสอนของคลอสไมเออร์ และริปเปิล ( Klausmeier and Ripple)
คลอสไมเออร์ และริปเปิล ได้กำหนดองค์ประกอบของระบบการเรียนการสอนไว้ 7 วันคือ 1.การกำหนดจุดมุ่งหมายของการเรียนการสอน 2.การพิจารณาความพร้อมของผู้เรียน 3.การจัดเนื้อหาวิชาวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือต่าง ๆ 4.การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 5.การดำเนินการสอน 6.การวัดและการประเมินผลการเรียนการสอน 7.สัมฤทธิ์ผลของนักเรียน
11.ระบบการเรียนการสอน โดยทิศนา แขมมณี
ทิศนา แขมมณี ได้เสนอระบบการออกแบบการเรียนการสอนเพื่อใช้ในการวางแผนการสอน ระบบนี้นับว่าเป็นระบบย่อยระบบหนึ่งของระบบการจัดการเรียนการสอน
1.ขั้นการคิดออกแบบการเรียนการสอน
พิจารณาหลักสูตรปัญหาความต้องการของผู้เรียน ผู้สอน
กำหนดเนื้อหามโนทัศน์
วัตถุประสงค์
ยุทธศาสตร์/กลวิธีการสอน
กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อ
การวัดและการประเมินผลการเรียนการสอน
ขั้นการเขียนแผนการสอน
วัตถุประสงค์
เนื้อหาสาระ
มโนทัศน์
กิจกรรม
สื่อ
การวัดและการประเมินผล
บันทึกผลการสอน
4.ระบบการเรียนการสอนของเกอร์ลัคและอีลาย(Gerlach and Ely)
เกอร์ลัคและอีลายได้จัดขั้นตอนสำคัญสำคัญของการจัดการเรียนการสอนไว้ 6 ส่วนด้วยกันคือ 1.การกำหนดวัตถุประสงค์ 2.การเลือกเนื้อหาวิชา 3.การประเมินพฤติกรรมก่อนเรียน 4.การดำเนินการสอนซึ่งครอบคลุมการพิจารณากลวิธีการสอนการจัดกลุ่มผู้เรียนการจัดห้องเรียนการจัดเวลาเรียนและการเลือกแหล่งวิชาการ 5.การประเมินผลการเรียน 6.การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อป้อนกลับ เพื่อไปใช้ในการปรับปรุงส่วนต่างๆของระบบ
2.ระบบการเรียนการสอน
ของเกลเซอร์(Glaser)
ระบบของเกลเชอร์ มีความคล้ายคลึงกับของไทเลอร์มากแต่มีองค์ประกอบมากกว่า คือ
1.จุดประสงค์ของการสอน 2. การประเมินสถานะของผู้เรียนก่อนสอน
3.การจัดกระบวนการเรียน 4. การสอนประเมินผลการเรียนการสอน 5.ข้อมูลป้อนกลับ
1.ระบบการเรียนการสอน
ของไทเลอร์(Tyler)
ไทเลอร์ได้กำหลดองค์ประกอบของระบบการเรียนการสอนที่เรียกว่า ไทเลอร์ลูฟ (Tyler Loop ) ไว้ 3 ส่วนด้วยกัน คือ
1.จุดมุ่งหมายของการเรียนการสอน
2.กิจกรรมการเรียนการสอน
3.การประเมินผลการเรียนการสอน
ข้อมูลจากการประเมินผลจะสามารถใช้เป็นข้อมูลป้อนกลับไปยังกิจกรรมการเรียนการสอนและจุดมุ่งหมายของการเรียนการสอนเพื่อการปรับปรุง
3.ระบบการเรียนการสอน
ของคาร์รอน(Carroll)
คาร์รอนเขาว่ามีความเห็นว่าการจัดการเรียนการสอนให้ประสบความสำเร็จนั้นครูจำเป็นต้องมีองค์ประกอบดังนี้ คือ
3.ความพยายามในการเรียน
4.เวลาที่ใช้ในการเรียน
2.ความสามารถในการเข้าใจ
5.คุณภาพการสอนของครู
1.ความถนัดทางการเรียนรู้
ความสำคัญและความเป็นเป็นมาของเรื่องระบบ "ระบบ" และ "วีธีการเชิงระบบ" (system and system approach)
สรุป
การคิดเป็นระบบ (systematic thinking)
การกำหนดองค์ประกอบและการจัดองค์ประกอบของระบบให้มีความสัมพันธ์กันอย่างเป็นลำดับขั้นตอน เพื่อนำไปสู่จุดมุ่งหมายที่กำหนดระบบในลักษณะนี้ จะมีลักษณะเป็นผังการดำเนินงาน หรือการทำงานใดงานหนึ่งอย่างเป็นลำดับขั้นตอน
การคิดเชิงระบบ (system approac)
การจัดระบบด้วยวิธีการเชิงระบบ ได้แก่การจัดองค์ประกอบของระบบในกรอบความคิดของตัวป้อนกระบวนการ กลไกควบคุม ผลผลิต และข้อมูลป้อนกลับและนำเสนอผังของระบบนั้นในรูปแบบของระบบที่สมบูรณ์ซึ่งประกอบไปด้วยส่วนสำคัญ 5 ส่วนสำคัญดังที่กล่าวมา
วีธีการเชิงระบบ (system approach)
3.ผลผลิต(product)
ผลที่เกิดขึ้นจากกระบวนการดำเนินงาน
5.ข้อมูลป้อนกับ(feedback)
ข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างผลผลิตกับจุดหมายซึ่งจะเป็นข้อมูลป้อนกลับไปสู่การปรับปรุงกระบวนการและตัวป้อนซึ่งสัมพันธ์กับผลผลิตและเป้าหมายนั้น
2.กระบวนการ(process)
การจัดความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่าง ๆ ของ ระบบให้มีลักษณะที่เพื่ออำนวยต่อการบรรลุเป้าหมาย
4.กลไกควบ(control)
กลไกหรือวิธีการที่ใช้ในการควบคุมหรือตรวจสอบกระบวนการให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
1.ตัวป้อน(input)
องค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบนั้นหรืออีกนัยหนึ่งก็คือสิ่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบนั้นองค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบใดระบบหนึ่ง
ระบบ (system)
วิธีการใดๆก็ได้ที่ได้รับการจัดไว้อย่างเป็นระเบียบเพื่อเป็นหลักให้สามารถทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้บรรลุผลตามเป้าหมาย
ระบบจะต้องประกอบไปด้วยสิ่งสำคัญอย่างน้อย 3 สีงด้วยกัน
องค์ประกอบสำคัญสำคัญ ๆ ของระบบ
ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบนั้น
เป้าหมายหรือจดหมายของระบบนั้น
วิธีการจัดระบบหรือสร้างระบบ
สรุป
สรุปได้ว่าการจัดสร้างระบบหนึ่งขึ้นมา กระบวนการที่จำเป็นก็คือ การกำหนดจุดมุ่งหมายของระบบการศึกษา หลักการ/ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง การประเมินสภาพการณ์และปัญหาที่เกี่ยวข้อง การกำหนดองค์ประกอบของระบบ การจัดความสัมพันธ์ขององค์ประกอบ การเขียนผังระบบ การทดลองใช้ระบบ การประเมินผล และการปรับปรุงระบบ
ขั้นตอนการสร้างระบบหรืออจัดระบบ
การจัดความสัมพันธ์ขององค์ประกอบ
การปรับปรุงระบบ
การประเมินผลระบบ
การทดลองใช้ระบบ
แผนการจัดผังระบบ
การจัดกลุ่มองค์ประกอบ
การกำหนดองค์ประกอบของระบบ
การศึกษาสภาพการณ์และปัญหาที่เกี่ยวข้อง
การศึกษาหลักการ/ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดจุดมุ่งหมายของระบบ