Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ, image, image, image, image, image, image,…
ความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
กลไกการแลกเปลี่ยนก๊าซ
1.ขณะหายใจเข้า
กะบังลมจะเลื่อนตำ่ลงกระดูกซี่โครงจะ
เลื่อนสูงขึ้น
ทำให้ปริมาตรช่องอกเพิ่มมากขึ้น
ความดันอากาศภายในบริเวณรอบๆ ปอดลดต่าลงกว่าอากาศภายนอก
อากาศภายนอกจึงเคลื่อนที่เข้าสู่จมูก หลอดลม ไปยังถุงลมปอด
2.ขณะหายใจออก
กะบังลมจะเลื่อนสูงขึ้น
กระดูกซี่โครงจะเลื่อนตำ่ลง
ทำให้ปริมาตรของช่องอกลดน้อยลง
ความดันอากาศในบริเวณรอบๆ ปอดสูงกว่าอากาศภายนอก
อากาศในถุงลมปอดจึงเคลื่อนที่จาก ถุงลมปอดสู่หลอดลม ออกทางจมูก
การหายใจ
กระบวนการแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ ระหว่าง ส่ิงแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
การหายใจภายนอก (External respiration) เป็นการทางานของปอดโดย มีการแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ระหว่างเลอืดที่ไหลเวยีนในปอด กับอากาศท่ีหายใจเข้าไป
การขนส่งก๊าซ(Transportmechanism)เป็นการขนส่งก๊าซออกซิเจน จากปอดไปยังเซลล์เนื้อเยื่อและขนสง่ก๊าซคารบ์อนไดออกไซด์จากเซลลเ์น้ือเยื่อไป ขับถ่ายออกทางปอด
การหายใจภายใน (Internal respiration) เป็นการแลกเปลี่ยนก๊าซท่ี เกิดขึ้นที่เซลล์และเนื้อเยื่อ
การแลกเปลี่ยนก๊าซ (Gas exchange)
การแลกเปลี่ยนก๊าซระดับปอด (Pulmonary gas exchange)
เป็นการแลกเปลี่ยนก๊าซระหว่างอากาศภายนอกและเลือดเพื่อรักษาระดับแรงดัน ย่อยของออกซิเจน
การแลกเปล่ียนก๊าซระดับหลอดเลือดฝอย (Capillary gas
exchange)
กลไกการขนส่งก๊าซในเลือด
ปริมาณของเมด็เลอืดแดงหรือฮีโมโกลบิน(hemoglobin;Hb)เนื่องจาก ออกซิเจนจะจับกับฮีโมโกลบินเรียกว่า ออกซีฮีโมโกลบิน (oxyhemoglobin) และขนส่งออกซิเจนไปให้เซลล์ต่างๆ
หากมีภาวะซีด (anemia) จะทำให้เกิดภาวะพร่องออกซิเจนได้
การแลกเปลี่ยนก๊าซระดับเซลล์ (Cellular gas exchange)
เป็นการแลกเปลี่ยนก๊าซผ่านเข้าและออกจาก cell membrane
การแลกเปลี่ยนก๊าซระดับเซลล์ขนาดเล็ก (Subcellular gas exchange)
เป็นการแลกเปลี่ยนก๊าซเข้าและออกจากไมโตคอนเดรีย (mitochondria) รวมถึงการเมตาโบลิซึม (metabolism) ที่ใช้ ออกซิเจนในเผาผลาญสารอาหารให้เป็นพลังงานและผลิตก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ออกมา
การแลกเปลี่ยนก๊าซระดับปอด (Gas exchange)
Ventilation “V” (การระบายอากาศ): การท่ีอากาศผ่านเข้าและออกโดยการ หายใจเอาอากาศเข้าไปแลกเปลี่ยนก๊าซที่ถุงลม (alveolar ventilation)
Diffusion (การซึมผ่านของก๊าซ): การท่ีก๊าซออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ ในถุงลมท่ีปอดกับในเลือดซึมผ่าน(diffusionthroughalveolar
capillary membrane)
Perfusion “Q” (การไหลเวียนของเลือด): การไหลเวียนของเลือดด้านผ่านถุม
และรับก๊าซจากปอดไปยัง pulmonary vein สู่หัวใจด้านซ้าย
การระบายอากาศและการไหลเวียนเลือดผ่านปอด
Tidalvolume(TV)คือปริมาตรของอากาศในการหายใจเข้าหรอืหายใจออกในคร้ังหน่ึงๆ ในผู้ใหญ่จะมีค่าปกติประมาณ 500 ml
Inspiratory reserve volume (IRV) คือปริมาตรของอากาศท่ี สามารถหายใจเข้าเพิ่มได้อีกจนเต็มที่ต่อจากการหายใจเข้าตามปกติมีค่าประมาณ 3,300 ml
3.Expiratory reserve volume (ERV) คือปริมาตรของอากาศท่ี สามารถหายใจออกได้อกีจนเต็มที่ต่อจากการหายใจออกตามปกติมีค่าประมาณ 1,000 ml
Residual volume (RV) คือปริมาตรของอากาศท่ียังคงเหลือค้างอยู่ในปอดหลังจากการหายใจออกอย่างเต็มที่มีค่าประมาณ 1,200 ml
โครงสร้างระบบทางเดินหายใจ
ทางเดินหายใจส่วนบน(upper airway) โพรงจมูก คอหอย (phalynx) กล่องเสียง(larynx)
ทางเดินหายใจส่วนล่าง (Lower airway) : หลอดลม (trachea) หลอดลมเล็ก (bronchi) หลอดลมฝอย (bronchiole)และถุงลม (alveoli)
1.ท่อทางเดินหายใจและปอด
Conducting zone เริ่มจาก trachea มาส้ินสุดที่ terminal
bronchiole
Respiratory zone เริ่มจาก respiratory bronchiole
กล้ามเน้ือหายใจ
กล้ามเนื้อหายใจเข้า Diaphragm
External intercostal muscle
กล้ามเน้ือหายใจออก Abdominal muscle เช่น external / internal oblique, rectus abdominis, transversus abdominis
Internal intercostal muscle
การประเมินสมรรถภาพของระบบหายใจ
การตรวจสมรรถภาพปอด
เป็นการตรวจที่สำคัญสาหรับการวินิจฉัย, ประเมินและติดตามผลการรักษา โรคระบบการหายใจ
เช่น โรคหืด, โรคปอดอุดก้ันเรื้อรัง, โรคปอดจากการทำงาน เป็นต้น
การเสื่อมของการทางานของปอดก่อนที่อาการแสดงทางคลินิกจะเริ่มปรากฏ เนื่องจากปอดเป็นอวัยวะที่มีความสามารถสารองสูง เช่น วิธีสไปโรเมตรีย์
(Pulmonary function test) การประเมินสมรรถภาพการทางานของปอด
การประเมินสมรรถภาพของระบบการหายใจ (Pulmonary functiontest)โดยใช้มาตรวัดปริมาตรอากาศหายใจเข้าและออก
Functionalresidualvolume ปริมาตรของอากาศที่เหลืออยู่ในปอดหลังหายใจออก
Tidal volume (TV) คือปริมาตรอากาศที่หายใจเข้าหรือออกแต่ละครั้ง
Force expiratory volume (FEV) คือปริมาตรของอากาศที่หายใจออกเต็มที่
FVC (Forced Vital Capacity) คือปริมาตรของอากาศที่เป่าออกอย่างเร็ว
การประเมินก๊าซในหลอดเลือดแดง (Arterial blood gas) ได้แก่ ประเมินระดับออกซิเจนในเลือด , ตรวจดูดุลยภาพกรด ด่างในเลือด
ขั้นตอนการวิเคราะห์ค่า Arterial Blood Gas : ABG
ขั้นที่ 1 ดูค่า pH (บอกค่า acid-base status)
หากค่า pH < 7.35 = acidosis , pH > 7.45 = alkalosis
ขั้นที่ 2 ดูค่า PaCO2 (บอกความผิดปกติของ Respiratory system) หากค่า PaCO2 > 45 mmHg. = acidosis, PaCO2 < 35 mmHg. = alkalosis
ขั้นท่ี 3 ดูค่า HCO3- (บอกความผิดปกติของ Metabolism system) หากค่า HCO3- > 26 = alkalosis , HCO3- < 22 = acidosis
ขั้นที่ 4 พิจารณาการชดเชย
กรณีไม่มีการชดเชย (non compensation) ค่า PaCO2, HCO3- ค่าใดค่าหน่ึงเปลี่ยนอีกค่าปกติ แปลผลรวมเป็นไปใน แนวทางของ pH (acidosis, alkalosis)
ขั้นที่ 5 ประเมินภาวะพร่องออกซิเจน ให้ดูจากค่า PaO2
61 – 80 = mild hypoxemia,
40 – 60 = moderate hypoxemia,
< 40 = severe hypoxemia
การตรวจ Arterial blood gas ในผู้ป่วย
ผู้ป่วยหนักและรุนแรงใน ICU
ผู้ป่วยในภาวะฉุกเฉิน
ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยออกซิเจน
ผู้ป่วยในระหว่างการดมยา
ผู้ป่วยภาวะหายใจล้มเหลว
ผู้ป่วยท่ีมีภาวะเสียสมดุลกรด ด่าง
ความผิดปกติของการหายใจ
Restrictive pulmonary function
ภาวะท่ีการขยายตัวของปอดถูกจากัด
สาเหตุ
มีการเปลี่ยนแปลงของเน้ือปอด (parenchymal)
โรคของเยื่อหุ้มปอด
มีปัญหาของ Chest Wall
ความจุของปอด
แบ่งเป็น 4 ส่วนคือ
Inspiratory capacity (IC) คือความจุของปอดที่คิดเป็นปริมาตรของอากาศที่หายใจ เข้าไปได้เต็มท่ีหลังจากหายใจออกตามปกติ หรือเป็นผลรวมของ TV + IRV ปกติมี ค่าประมาณ 3,800 ml
Functional residual capacity (FRC) คือความจุปอดที่คิดเป็นปริมาตรของอากาศ คงเหลืออยู่ในปอดหลังจากหายใจออกตามปกติ หรือเป็นผลรวมของ ERV + RV ปกติ
Vital capacity (VC) คือความจุของปอดท่ีคิดเป็นปริมาตรของอากาศหายใจออก เต็มท่ีหลังจากการหายใจเข้าเต็มที่ หรือเป็นผลรวมของ IRV + TV + ERV
Total lung capacity (TLC) คือความจุของปอดท่ีคิดเป็นปริมาตรของอากาศท้ังหมด เม่ือหายใจเข้าเต็มท่ี หรือเป็นผลรวมของ VC + RV ปกติมีค่าประมาณ 6,000 ml
ภาวะที่การขยายตัวของปอดถูกจากัด ที่พบบ่อย
Atelectasis
การขยายตัว (Expansion) ของปอดไม่สมบูรณ์ หรือภาวะปอดแฟบ ไม่มีอากาศใน Alveoli
Pulmonary fibrosis
พังผืดที่ปอด ไมท่ราบสาเหตุ
Pulmonary edema
ระยะแรก Interstitial edema มีการสะสมของของเหลว ใน
peribronchial และ perivascular space
ระยะท่ีสอง Alveolar Edema เมื่อ Interstitial hydrostatic pressure สูงมากๆ ของเหลวจะเข้าไปใน alveolar
Pneumothorax
ภาวะท่ีมีลมเข้าไปใน pleural space ซึ่งมีผลให้ปอดแฟบ
Pleural effusion or Hydrothorax
ภาวะท่ีมีการสะสมของเหลวในเยื่อหุ้มปอด ถ้าของเหลวนั้นเป็นหนองเรียกว่า empyema แต่ถ้าเป็นเลือดเรียกว่า hemothorax
Pleurisy (Pleuritis)
ปอดอักเสบจากการติดเชื้อรา กลุ่มAspergillus
Abscess formation and cavitation
Abscess คือภาวะที่ปอดมีการอักเสบเป็นหนอง (Abscess) และมีการทาลาย
เนื้อเยื่อปอด (lung parenchyma)
Cavitation คือกระบวนการทาลายเน้ือเย่ือปอดบริเวณท่ีมีการอกั เสบกลายเป็น โพรง (Cavity)
หลักการพยาบาล
แก้ไขตามสาเหตุของภาวะนั้นๆ
การแก้ไขภาวะของ Hypoxemia
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
คาแนะนาในการปฏิบัติเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่างๆ
Obstructive pulmonary function
ภาวะที่มีการอุดกั้นของทางเดินหายใจ
1.กลุ่มท่ีรูท่อทางเดินหายใจอุดตัน
สาเหตุ
ติดเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส และอื่นๆ
การระคายเคืองจากสารพิษ
การสาลักสิ่งแปลกปลอมเข้าไปในหลอดลม
การได้รับบาดเจ็บต่อท่อทางเดินหายใจ
การสูบบุหรี่
เน้ืองอก
ต่อมน้าเหลืองโตเบียดท่าทางเดินหายใจ
อาการ
ไข้สูง หนาวส่ัน
ไอมีเสมหะเหนียวข้น
Hyperinflation
หายใจลาบากมีเสียง wheeze
Breath sound เบา
Tachycardia
Tachypnea
Residual volume เพิ่มขึ้น
Sever hypoxia
หายใจเสียงดัง stridor หน้าอกบุ๋ม
2.กลุ่มที่ผนังท่อทางเดินหายใจบวมหรือหดตัว
ผนังท่อทางเดินหายใจบวมหรือหดตัว ทาให้เกิดภาวะอุดกั้นของทาง เดินหายใจได
สาเหตุ
ติดเชื้อ แบคทีเรีย ไวรัส
การแพ้ยา สารบางอย่าง อากาศเย็น
ภาวะเครียด
การสูบบุหรี่
การออกกำลังกาย
โรคหลอดลมโป่งพอง Bronchiectasis
3.กลุ่มที่มีแรงดันบริเวณรอบๆนอกท่อทางเดินหายใจ
สาเหตุ
การสูบบุหรี่
พันธุ์กรรม
การติดเชื้อ
อาชีพ
มลพิษทางอากาศ
เป็นสาเหตุทำให้เกิดการอุดก้ันทางเดินหายใจ เนื่องจากมีการสูญเสียแรงตึงตัวของผนังถุงลม(alveolar)
พบได้ในโรคถุงลมโป่งพอง(emphysema)หรือโรคปอดอุดก้ันเรอื้รงั (Chronic Obstructive Pulmonary Disease or COPD) คือมีลมหรืออากาศอยู่ในส่วนของ terminal bronchiole และมีการทาลายผนังของถุงลมจึงทำให้มีลักษณะโป่งออกของถุง
ถุงลมโป่งพอง (emphysema)
หลักการพยาบาล
รักษาทางเดินหายใจให้โล่ง
การแก้ไขภาวะของ Hypoxemia
แนะนาภาวะโภชนาการ
แนะนาการปฏิบุติตนให้หลีกเลี่ยงสาเหตุนาต่างๆ
ภาวะการหายใจล้มเหลว (Respiratory failure)
Acute respiratory failure การหายใจล้มเหลวอย่างเฉียบพลัน
ภาวะที่มีการพร่องของ O2 ในเลือดแดง (hypoxemia) Pa O2 ต่ากว่า50 mmHg หรือ
CO2 คั่ง (hypercapnia) Pa CO2 สูงกว่า 50 mmHg เกิดข้ึนอย่างรวดเร็ว
Chronic respiratory failure การหายใจล้มเหลวอย่างเรื้อรัง
ภาวะที่มีการพร่องของ O2 ในเลือดแดง และ CO2 สูงข้ึนย่างค่อยเป็นค่อยไป
ร่างกายสามารถปรับตัวชดเชยโดยการสร้างเม็ดเลือดแดงเพิ่มขึ้น
ไตชดเชยภาวะเป็นกรด ด่างของร่างกายโดยการเก็บ HCO3- ไว้เพิ่มขึ้น
อาการ
Respiratory system หายใจเร็ว หายใจลาบาก
Cardiovascular System ชีพจรเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง อาจมีหัวเต้นผิดปกติ
Central nervous system ระดับความรู้สึกเปลี่ยนไป สับสน ไม่มีสมาธิ เอะอะ กระสับกระส่าย
Hematologic effect เม็ดเลือดแดงเพิ่มข้ึน (polycythemia) เพื่อเพิ่ม ออกซิเจนในเลือด
Acid-base balance เมื่อภาวะ Hypoxemia รุนแรง เลือดจะเป็นกรดมากขึ้น กระตุ้นการหายใจเร็วขึ้นเป็นภาวะCompensate เพื่อลดความเป็นกรด
สาเหตุ
ความผิดปกติท่ีปอด ได้แก่ รุนแรง, ปอดอุดกั้นเรื้อรัง, สิ่งแปลกปลอมอุดกั้นหลอดลม
ความผิดปกติที่ช่องทรวงอกและเยื่อหุ้มปอด
ความผิดปกติท่ีระบบประสาทส่วนกลาง
ความผิดปกติของระบบประสาทและกล้ามเน้ือ
ความผิดปกติของระบบหัวใจและหลอดเลือด
หลักการรักษา
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
การให้ออกซิเจนแก้ไขภาวะ Hypoxemia
รักษาสาเหตุที่ทาให้เกิดภาวะหายใจล้มเหลว