Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะ heart failure, นางสาวปิยรัตน์ สุขดำ 621001055 - Coggle Diagram
ภาวะ heart failure
-
การรักษา
ให้ยาขับปัสสาวะเพื่อลดปริมาตรของน้ำในร่างกายลดอาการบวมเช่น Thiazide, Furosemide, Spironolactone
-
-
-
-
ให้ยาเพิ่มประสิทธิภาพการบีบตัวของหัวใจ ได้แก่ Dopamine, Amrin one, Dobutamine
ให้ยากลุ่ม ACEI เช่น Benazepril, Captopril, Enalapril เพื่อเพิ่มการไหลเวียนของเลือดมีผลลดทั้ง Preload และ Afterload โดยทำให้หลอดเลือขยายตัวลดความดันโลหิตและป้องกันการถูกทำลายของหัวใจเพิ่มขึ้น
-
การพยาบาล
จำกัด น้ำในแต่ละวันตามแนวทางการรักษาโดยในรายที่ไม่รุนแรงให้จ่ากัดประมาณ 800-1,000 ซีซี / วัน
-
-
-
ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของหัวใจในการบีบเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆได้ดีขึ้นมีการคั่งของน้าในร่างกายลดลง
-
-
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
-
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต / ปัจจุบัน ได้แก่ ความดันโลหิตสูงโรคเกี่ยวกับลิ้นหัวใจตีบฝรั่วกล้ามเนื้อหัวใจตาย
-
การตรวจร่างกาย
-
-
-
-
-
-
หลอดเลือดที่คอโป่งพองวัดหลอดเลือดดำที่คอถ้าสูงกว่า 4 cm. จาก Sternal angle แสดงว่ามีหัวใจห้องล่างขวาวาย
การตรวจพิเศษ
-
Echocardiogram ประเมินการบีบตัวและคลายตัวของกล้ามเนื้อหัวใจการทำงานของห้องหัวใจความดัยหัวใจขนาดหัวใจ
-
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-
-
BUN, Cr และ CrCl เพื่อดูการทำงานของไต
-
-
-
อาการเเละอาการเเสดง
หัวใจห้องล่างซ้ำยวาย
หายใจลำบาก ชีพจรเบา Orthopnea อาการเหนื่อย หายใจไม่สะดวกขณะนอนราบ ไอมีฟองชมพู (Frothysputum) ซีดเขียวคล้ำ ปัสสาวะออกน้อย
หัวใจห้องล่างขวาวาย
ตับโตม้ามโตลำใส้บวมมีอาการจุกเสียดบริเวณใต้ชายโครงหรือลิ้นปี หลอดเลือดดำที่คอโป่งพอง (Jugular vein engorge; JVP) แขนขาบวม (Pitting edema)
-
ความหมาย
ภาวะที่หัวใจไม่สามารถบีบตัวให้เลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายได้อย่างเพียงพอต่อความต้องการในเด็กมักเกิดจากโรคหัวใจพิการ แต่กำเนิดโดยเฉพาะในวัยทารกและเด็กเล็กอาจเกิดจากการที่กล้ามเนื้อหัวใจไม่แข็งแรงลิ้นหัวใจต่างๆไม่ปกติหรือจังหวะการเต้นของหัวใจผิดปกติไป
-