Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Cardiogenic shock - Coggle Diagram
Cardiogenic shock
การพยาบาล
- ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะช็อคได้แก่ หัวใจเต้นแรง หายใจเร็ว ความดันโลหิตต่ำ pulse pressure แคบ สับสน กระสับกระส่าย ซึมลง และไม่รู้สึกตัว ปัสสาวะออกน้อยกว่า 0.5 ml/kg/hr ผิวหนังจะเย็น ซีด เหงื่อออก ปลายมือ ปลายเท้าเขียว เพื่อให้การพยาบาลได้ทันท่วงที
- วัดสัญญาณชีพและ O2 saturation ทุก 1 ชั่วโมงในระยะแรก และทุก 4 ชั่วโมงในระยะต่อมา โดยเฉพาะค่าความดันโลหิตที่ลดลง ชีพจรเบาเร็ว ซึ่งแสดงว่าผู้ป่วยมีปริมาณเลือดออกจากหัวใจลดลง และกำลังจะเข้าสู่ภาวะช็อคเพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงและให้การพยาบาลได้อย่างทันท่วงที
- ประเมินระดับความรู้สึกตัว โดยใช้ Glasgow coma score เพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลงของระดับความรู้สึกตัว จากเลือดไปเลี้ยงสมองลดลง ทำให้การทำหน้าที่สมองผิดปกติ ให้การพยาบาลได้อย่างทันท่วงที
- หากผู้ป่วยมีภาวะช็อกดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำให้เพียงพอ เพื่อเพิ่มปริมาณการไหลเวียนของเลือดในร่างกาย ทดแทนปริมาณเลือดที่สูญเสียไป
- บันทึกปริมาณน้ำเข้าและออกจากร่างกาย เพื่อประเมินภาวะช็อคและให้วางแผนให้การพยาบาลได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- ติดตามผลการผลการตรวจพิเศษ ได้แก่ echo ,CXR, เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงของหัวใจจากภาวะหัวใจล้มเหลว เพื่อวางแผนการพยาบาลได้เหมาะสม
-
การรักษา
-
-
ลดความต้านทานของหลอดเลือดแดง เพื่อให้หัวใจทำงานง่ายขึ้นโดยใช้ยาขยายหลอดเลือด เช่น Sodium nitroprusside
-
-
สาเหตุ
ภายนอก
หัวใจโดนกดจากเลือด, น้ำหรือลมในช่องเยื่อหุ้มหัวใจ, เยื่อหุ้มหัวใจที่หนาตัวขึ้น (constrictive pericarditis)
-
-
หัวใจ
-
โครงสร้างของหัวใจผิดปกติ เช่น โรคของลิ้นหัวใจ, ผนังระหว่างหัวใจรั่ว
-
พยาธิสภาพ
กล้ามเนื้อหัวใจบาดเจ็บ > ความสามารถในการบีบตัวลดลง > SU ลดลง+CO ลดลง+BP ลดลง > เลือดในหัวใจห้องล่างคั่ง > ความดันเลือดดำในปอดสูง > แรงดันในปอดสูง > การกำซาบเนื้อเยื่อไม่เพียงพอเซลล์และเนื้อเยื่อตายทุกส่วนรวมถึงเนื้อเยื่อขาด O2 > DEATH