Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 10 ความผิดปกติของระบบหายใจ - Coggle Diagram
บทที่ 10 ความผิดปกติของระบบหายใจ
กายวิภาคระบบทางเดินหายใจ
โครงสร้างของระบบทางเดินหายใจแบ่งออกเป็น 2 ส่วน
ทางเดินหายใจส่วนบน(upper airway) โพรงจมูก คอหอย (phalynx) กล่องเสียง(larynx)
หน้าที่ของทางเดินหายใจส่วนบน
-เป็นทางผ่านของอากาศสู่ ทางเดินหายใจส่วนล่าง
-ป้องกันสิ่งแปลกปลอมเข้าสู่ ทางเดินหายใจส่วนล่าง
-ปรับอุณหภูมิและกรองความชื้น
ทางเดินหายใจส่วนล่าง (Lower airway) : หลอดลม (trachea) หลอดลมเล็ก (bronchi) หลอดลมฝอย (bronchiole)และถุงลม (alveoli)
หน้าที่ของทางเดินหายใจส่วนล่าง
-เป็นทางผ่านอากาศเข้าสู่ถุงลม
-สร้างน้าเมือกดักจับสิ่งแปลกปลอม
-สร้างสารเคลือบผิว(surfactant)ซึ่งบุอยู่บริเวณ alveolar cells ของปอดเพื่อไม่ให้ถุงลมแฟบขณะ หายใจออก
โครงสร้างของอวัยวะท่ีเก่ียวกับทางเดินหายใจ
ท่อทางเดินหายใจและปอด
Conducting zone เริ่มจาก trachea มาส้ินสุดที่ terminal
bronchiole
Respiratory zone เริ่มจาก respiratory bronchiole
กล้ามเน้ือหายใจ
กล้ามเนื้อหายใจเข้า
Diaphragm
External intercostal muscle
กล้ามเน้ือหายใจออก
Abdominal muscle เช่น external / internal oblique, rectus abdominis, transversus abdominis
Internal intercostal muscle
กลศาสตร์การหายใจ
การหายใจเข้าและออกจากปอดเกิดจากความแตกต่าง ระหว่างความดันบรรยากาศและความดันในถุงลม
โดยเวลาหายใจเข้าทรวงอกขยายความดันในถุงลมจะลด ต่าลง อากาศจึงไหลเข้าสู่ปอดจนกระท่ังความดันภายในปอด เพ่ิมขึ้นเท่ากับความดันบรรยากาศ
ส่วนเวลาหายใจออกทรวงอกและเนื้อเย่ือปอดซึ่งมีความ ยืดหยุ่นจะหดตัวกลับสู่ปริมาตรเดิม ความดันภายในปอด จึงเพิ่มข้ึนจนมากกว่าความดันบรรยากาศ อากาศจึงไหล ออกจากปอดสู่ภายนอก
กลไกลการหายใจ
ขณะหายใจเข้า 2.ขณะหายใจออก
ความต้านทานการหายใจ
Elastic resistance ของปอดและทรวงอกเป็นแรงต้านที่ทำให้ปอดและทรวงอกกลับสู่สภาพเดิมหลังจากที่มีการยืดขยายโดย elastic resistance ของปอดจะแปรผกผันกับ Compliance (C)
Airway resistance เกิดจากการเสียดสีของโมเลกุลในอากาศด้วยกันเองกับทางเดินหายใจ airway resistance นี้ปกติจะมีค่าน้อย แต่ถ้ามีการหายใจเร็วขึ้นเช่นขณะออกกาลังกายหรือทางเดินอากาศมีขนาดเล็กลงเช่น Asthma จะทำให้ airway resistance มากขึ้น
Tissue resistance เกิดจากการเสียดสีของเนื้อเยื่อที่เคลื่อนไหวระหว่างการหายใจมีค่าน้อยมากในคนปกติจะมีค่าเป็นศูนย์
คือกระบวนการแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
เพื่อใช้ในกระบวนการเมตาบอลิซึมของเซลล์เนื้อเยื่อประกอบไปด้วย
การหายใจภายนอก (External respiration) เป็นการทำงานของปอดโดยมีการแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ระหว่างเลือดที่ไหลเวียนในปอดกับอากาศที่หายใจเข้าไป
การขนส่งก๊าซ (Transport mechanism) เป็นการขนส่งก๊าซออกซิเจนจากปอดไปยังเซลล์เนื้อเยื่อและขนส่งก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากเซลล์เนื้อเยื่อไปขับถ่ายออกทางปอด
การหายใจภายใน (Internal respiration) เป็นการแลกเปลี่ยนก๊าซที่ขึ้นที่เซลล์และเนื้อเยื่อ
การระบายอากาศและการไหลเวียนเลือดผ่านปอด
ปริมาตรของปอดแบ่งเป็น 4 ส่วนคือ
Tidalvolume(TV)คือปริมาตรของอากาศในการหายใจเข้าหรอืหายใจออกในคร้ังหน่ึงๆ ในผู้ใหญ่จะมีค่าปกติประมาณ 500 ml
Inspiratory reserve volume (IRV) คือปริมาตรของอากาศท่ี สามารถหายใจเข้าเพิ่มไดอ้ีกจนเต็มที่ต่อจากการหายใจเข้าตามปกติมีค่าประมาณ 3,300 ml
Expiratory reserve volume (ERV) คือปริมาตรของอากาศท่ี สามารถหายใจออกได้อกีจนเต็มที่ต่อจากการหายใจออกตามปกติมีค่าประมาณ 1,000 ml
Residual volume (RV) คือปริมาตรของอากาศท่ียังคงเหลอื ค้างอยู่ในปอด หลังจากการหายใจออกอย่างเต็มที่ มี ค่าประมาณ 1,200 ml
ความจุของปอด
Inspiratory capacity (IC) คือความจุของปอดที่คิดเป็นปริมาตรของอากาศที่หายใจ เข้าไปได้เต็มท่ีหลังจากหายใจออกตามปกติ หรือเป็นผลรวมของ TV + IRV ปกติมี ค่าประมาณ 3,800 ml
Functional residual capacity (FRC) คือความจุปอดที่คิดเป็นปริมาตรของอากาศ คงเหลืออยู่ในปอดหลังจากหายใจออกตามปกติ หรือเป็นผลรวมของ ERV + RV ปกติ มีค่าประมาณ 2,200 ml
Vital capacity (VC) คือความจุของปอดท่ีคิดเป็นปริมาตรของอากาศหายใจออก เต็มท่ีหลังจากการหายใจเข้าเต็มที่ หรือเป็นผลรวมของ IRV + TV + ERV ปกติมี ค่าประมาณ 4,800 ml
Total lung capacity (TLC) คือความจุของปอดท่ีคิดเป็นปริมาตรของอากาศท้ังหมด เม่ือหายใจเข้าเต็มท่ี หรือเป็นผลรวมของ VC + RV ปกติมีค่าประมาณ 6,000 ml
การแลกเปลี่ยนก๊าซ (Gas exchange)
การแลกเปลี่ยนก๊าซระดับปอด (Pulmonary gas exchange)
เป็นการแลกเปลี่ยนก๊าซระหว่างอากาศภายนอกและเลือดเพื่อรักษาระดับแรงดันย่อยของออกซิเจน (partial pressure of arterial Oxygenation: Pa02) และดาร์บอนไดออกไซด์ (partial pressure of carbon dioxide: PaCO2) ที่ละลายอยู่ในเลือดแดง (arterial blood) ให้เป็นปกติ
การแลกเปลี่ยนก๊าซระดับหลอดเลือดฝอย (Capillary gas exchange-เป็นการแลกเปลี่ยนก๊าซระหว่างเลือดและเซลล์เนื้อเยื่อโดยมีองค์ประกอบสำคัญคือกลไกการขนส่งก๊าซในเลือด (gas transportation mechanism) และการมีเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อต่าง ๆ อย่างเพียงพอ (adequate tissue perfusion) ในเลือดขึ้นอยู่
การแลกเปลี่ยนก๊าซระดับเซลล์ (Cellular gas exchange)
เป็นการแลกเปลี่ยนก๊าซผ่านเข้าและออกจาก cell membrane
การแลกเปลี่ยนก๊าซระดับเซลล์ขนาดเล็ก (Subcellular gas exchange))-เป็นการแลกเปลี่ยนก๊าซเข้าและออกจากไมโตคอนเดรีย (mitochondria) รวมถึงการเมตาโบลิซึม (metabolism) ที่ใช้ออกซิเจนในเผาผลาญสารอาหารให้เป็นพลังงานและผลิตก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกมา
การแลกเปลี่ยนก๊าซระดับปอด (Gas exchange)
Ventilation“ V” (การระบายอากาศ): การที่อากาศผ่านเข้าและออกโดยการหายใจเอาอากาศเข้าไปแลกเปลี่ยนก๊าซที่ถุงลม (alveolar ventilation)
Diffusion (การซึมผ่านของก๊าซ): การที่ก๊าซออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ในถุงลมที่ปอดกับในเลือดซึมผ่าน (diffusion through alveolar capillary membrane)
Perfusion“ Q” (การไหลเวียนของเลือด): การไหลเวียนของเลือดดำผ่านถุงลมและรับก๊าซจากปอดไปยัง pulmonary vein สู่หัวใจด้านซ้าย-การแลกเปลี่ยนก๊าซจะเป็นปกติเมื่อปอดมีสมรรถภาพในการซึมผ่านของก๊าซ (Diffusion) และความเหมาะสมระหว่างการระบายอากาศและปริมาตรเลือดที่ไหลมาแลกเปลี่ยนก๊าซปริมาณพอเหมาะ (perfusion that matches the ventilation) หรือกล่าวได้ว่ามี V / Q matching ปกติ
ความผิดปกติของการหายใจ
การเปลี่ยนแปลงของระบบหายใจ มีสาเหตุส่วนใหญ่จากการทาหนา้ ที่ของทางเดิน หายใจและปอดผิดปกติ ลักษณะทางคลินิกที่พบบ่อย คือ
Dyspnea
plural pain
Abnormal breathing patterns
Hypoventilation and Hyperventilation
abnormal sputum
Hemoptysis
hypercapnia
Cyanosis
clubbing of finger or toe
Cough
Restrictive pulmonary function
ภาวะท่ีการขยายตัวของปอดถูกจากัด
ความผิดปกติของปอด เนื่องจากการขยายตัว (Expansion) ของปอดถูก จากัด ทาให้ TLC และ VC ลดลง มีผลให้หายใจเข้าลาบาก แต่แรงต้านการ ไหลของอากาศปกติ
ความยืดหยุ่นของปอดลดลงทำให้ความจุของปอดลดลง
เช่น ผู้ที่มีโรคของเนื้อปอด ผู้ที่โครงสร้างกล้ามเน้ือ หรือกระดูกที่ช่วยในการ หายใจผิดปกติ กลุ่มน้ีจะมีค่า FVC เมื่อเทียบกับมาตรฐานต่ากวา่ 80 % แต่ ค่า FEV1 / FVC จะมากกว่า 70 %
ความจุของปอด
การประเมินสมรรถภาพการทางานของปอด (Pulmonary function test)
การประเมินสมรรถภาพของระบบการหายใจ (Pulmonary function
test)โดยใช้มาตรวัดปริมาตรอากาศหายใจเขา้และออกที่ใช้บ่อยคือ
-Functional residual volume คือปริมาตรของอากาศที่เหลืออยู่ในปอดหลังจากหายใจออกปกติมีค่าประมาณ 2,000-2500 CC -Tidal volume (TV) คือปริมาตรอากาศที่หายใจเข้าหรือออกแต่ละครั้งมีต่าประมาณ 500 cc
-Force • expiratory volume (FE) คือปริมาตรของอากาศที่หายใจออกเต็มที่หลังจากหายใจเข้าเต็มที่ในเวลา 1 วินาที (FEV 1.0) มีด่าประมาณ 4,000 cc
-FVC (Forced Vital Capacity) คือปริมาตรของอากาศที่เป่าออกอย่างเร็วแรงจนหมดหลังจากหายใจเข้าอย่างเต็มที่-ซึ่งโดยปกติด้า FVC แสดงถึงปริมาตรอากาศที่จุอยู่ในปอดเกือบทั้งหมด (ประมาณเท่า vital capacity)
-ดำปกติจะมีค่ามากกว่า 80% โดยดำ FVC จะต่ำลงในกรณีโรดที่ปอดมีขนาดเล็กกว่าปกติ (restrictive lung disease)
Obstructive pulmonary function
ภาวะที่มีการอุดกั้นของทางเดินหายใจ
กลุ่มที่รูท่อทางเดินหายใจอุดตัน
ภายในของรูท่อทางเดนิ หายใจอุดตัน เน่ืองจากการมีสิ่งแปลกปลอม เสมหะ จานวน
มาก หรือสาลักน้าหรือสารบางอย่างเข้าไปในรูทางเดินหายใจ ทาให้ตีบหรือแคบ ซ่ึงจะมีผลต่อการไหลของอากาศ
พยาธิวิทยาของ Pneumonia
ระยะแรก Interstitial edema มีการสะสมของของเหลว ใน
peribronchial และ perivascular space
ระยะท่ีสอง Alveolar Edema เมื่อ Interstitial hydrostatic pressure สูงมากๆ ของเหลวจะเข้าไปใน alveolar
ส่งผลให้ surfactant ที่เคลือบ alveolar collapse และเมื่อไม่มี O2 เข้าไปใน alveolar ก็จะเกิด blood shunt
Severe hypoxemia hypercapnia และ
VA/Q Mismatch
หลักการพยาบาล Restrictive pulmonary function
การขับเสมหะในทางเดินหายใจ
การหายใจอย่างถูกวิธีและการไออย่างมี ประสิทธิภาพ
การดูดเสมหะโดยใช้ลูกยางแดง
การดูดเสมหะด้วยสายดูดเสมหะ ได้แก่
Nasopharyngeal and Oropharyngeal Suctioning
Endotracheal and tracheostomy Suctioning
Obstructive pulmonary function
การทาหน้าที่ของปอดผิดปกติเนื่องจากมีการอุดก้ันของทางเดินหายใจ
มีผลให้แรงต้านทานการไหลของอากาศหายใจ (resistance airway)
สูงข้ึน มีการอุดกั้นของหลอดลม ทาให้การหายใจออกลาบาก
กลุ่มนี้จะตรวจพบค่า FEV1 / FVC ต่ากว่า 70 % โดยค่า FVC จะปกติ
เช่น ในผู้ที่เป็นโรคหืด โรคถุงลมโป่งพองจากการสูบบุหรี่ โรคหลอดลมอักเสบ เร้ือรัง
แบ่งเป็น 3 กลุ่ม จาแนกตามการอุดกั้น ได้แก่
กลุ่มท่ีรูท่อทางเดินหายใจอุดตัน:
กลุ่มที่ผนังท่อทางเดินหายใจบวมหรือหดตัว
กลุ่มที่มีแรงดันบริเวณรอบๆนอกท่อทางเดินหายใจ
Obstructive pulmonary function
กลุ่มผนังท่อทางเดินหายใจบวมหรือหดตัว
ผนังท่อทางเดินหายใจบวมหรือหดตัว ทาให้เกิดภาวะอุดกั้นของทาง เดินหายใจได้
ซึ่งอาจเป็นอย่างเฉียบพลันเรียนหลัง
เช่น Asthma
Chronic bronchitis เป็นต้น
โรคหลอดลมโป่งพอง Bronchiectasis
เป็นภาวะท่ีหลอดลมเสียหายอย่างถาวร
ส่งผลให้มีเชื้อแบคทีเรียและสารคัดหลั่งสะสม
ภายในปอด
โรคนี้ไม่มีวิธีรักษาให้หายขาด ทาได้เพียง
ควบคุมอาการไม่ให้กาเริบ
โดยผู้ป่วยสามารถใช้ชีวิตได้ตามปกติ
แต่ต้องมีการติดตามอาการอยา่ งใกลช้ ิดเพื่อ
ไม่ให้เกิดความเสียหายต่อระบบทางเดินหายใจ มากขึ้น
กลุ่มท่ีมีแรงดันบริเวณรอบๆ นอกท่อทางเดินหายใจ
เป็นสาเหตุทำให้เกิดการอุดก้ันทางเดินหายใจ เน่ืองจากมีการสูญเสยี แรงตึงตัว
ของผนังถุงลม(alveolar)
ซึ่งพบได้ในโรคถุงลมโป่งพอง(emphysema)หรือโรคปอดอุดก้ันเรอื้รงั (Chronic Obstructive Pulmonary Disease or COPD) คือมีลมหรืออากาศอยู่ในส่วนของ terminal bronchiole และมีการทาลายผนังของถุงลมจึงทาให้มลีักษณะโป่งออกของถุง
ภาวะการหายใจล้มเหลว (Respiratory failure)
การที่ระบบหายใจไม่สามารถทาหน้าที่ระบายอากาศ และแลกเปลี่ยนก็าซได้
เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
จะมีระดับ O2 ในเลือดแดง (Pa O2) ต่ากว่าปกติ < 50-60 mmHg
และ/หรือ CO2 ในเลือดแดง (Pa CO2) สูงกว่าปกติ >50 mmHg
และร่างกายมีความเป็นกรดมากข้ึน< 7.25
Respiratory failure
1.Acute respiratory failure การหายใจล้มเหลวอย่างเฉียบพลัน
ภาวะที่มีการพร่องของ O2 ในเลือดแดง (hypoxemia) Pa O2 ต่ากว่า
50 mmHg หรือ
CO2 คั่ง (hypercapnia) Pa CO2 สูงกว่า 50 mmHg เกิดข้ึน
อย่างรวดเร็ว
2.Chronic respiratory failure การหายใจล้มเหลวอย่างเรื้อรัง
ภาวะที่มีการพร่องของ O2 ในเลือดแดง และ CO2 สูงข้ึนอย่างค่อยเป็นค่อย
ไป
ร่างกายสามารถปรับตัวชดเชยโดยการสร้างเม็ดเลือดแดงเพมิ่ข้ึนและ
ไตชดเชยภาวะเป็นกรด ด่างของร่างกายโดยการเก็บ HCO3- ไว้เพิ่มขึ้น
สาเหตุ Respiratory failure
ความผิดปกติท่ีปอด
1.1 Obstructive pulmonary function: Asthma รุนแรง, ปอดอุดกั้นเร้ือรัง, สิ่งแปลกปลอมอุดกั้นหลอดลม
1.2 Restrictive pulmonary function: pneumonia, pulmonary edema, atelectasis
1.3 ความผิดปกติของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงปอด: pulmonary embolism
ความผิดปกติที่ช่องทรวงอกและเย่ือหุ้มปอด: chest injury, การได้รับ
การผ่าตัดช่องทรวงอก
ความผิดปกติท่ีระบบประสาทส่วนกลาง: ศูนย์ควบคุมการหายใจถูกกด, สมองได้รับบาดเจ็บ, สมองขาดเลือดไปเล้ียง, ความดันในสมองสูง, สมอง อักเสบ
ความผิดปกติของระบบประสาทและกล้ามเน้ือ (neuromuscular): บาดทะยัก, โปลิโอ, การบาดเจ็บของไขสันหลัง, Myasthenia gravis,
Guillain Barre’s syndrome
ความผิดปกติของระบบหัวใจและหลอดเลือด: shock, left side heart failure