Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด - Coggle Diagram
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด
ยารักษาอาการแองไจนา
อาการ Angina Pectoris
กลุ่มอาการที่เกิดจากการที่กล้ามเนื้อหัวใจบางส่วนได้รับเลือดและออกซิเจนไปเลี้้ยงไม่เพียงพอกับความต้องการในขณะนั้น
1.แองไจนาชนิดคงที่
(Stable angina : อาการเพียงไม่กี่นาทีและมีสาเหตุ เช่น
เครียด หลังอาหาร)
2.แองไจนาชนิดไม่คงที่
(Unstable angina : ลักษณะ
ความถี่สาเหตุเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม)
ปรับสมดุล ระหว่างความต้องการออกซิเจนและการให้ออกซิเจน ลดความต้องการออกซิเจนของกล้ามเนื้อหัวใจ เพิ่มออกซิเจนที่ไปเลี้ยงห้วใจ หรือออกฤทธิ์ทิ่ 2 อย่าง
แบ่งกลุ่มยาที่ใช้ในการรักษาเป็นกลุ่ม ๆ คือ
ยาในกลุ่ม beta adrenergic
antagonists (BB)
Atenolol, metoprolol, propranolol
ลดอัตราการเต้นและแรงบีบตัวของหัวใจ ลดความต้องการออกซิเจน ทําให้การทํางานของหัวใจลดลง ไม่แนะนําให้ใช้กับผู้ป่วย
Prinzmetal’s angina
เพราะยา BB ทําให้เพิ่่มการหดเกร็งของหลอดเลือดได้ผู้ป่วยหอบหด ยาในกลุ่ม BB
อาจทําให้ หลอดลมเกิดการหดตัว ผู้ปวยเบาหวาน เนื่องจากยาในกลุ่ม BB จะบดบังอาการหัวใจเต้นเร็ว ซึ่งเป็น อาการที่มีบอกถึงการเกิดน้ำตาลในเลือดต่ำ
K CHANNEL OPENERS
Nicorandil, cromakalin ชนิดของ K channel voltage gated
(หลอดเลือด & กล้ามเนื้อเรียบอื่นๆ ) ATP activated (กล้ามเนื้อหัวใจ & เบต้าเซลล์ของตับอ่อน) การเปิดช่อง K : ไฮเปอร์โพลาไรและกล้ามเนื้อเรียบของหัวใจคลายตัว
ฤทธิ์ส่วนใหญ่ :
เกิดการคลายตัวของกล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือดและเนื้อเยื่อต่างๆ
ยาในกลุ่มไนเตรท
มีกลุ่ม nitrite ion
ถูกเปลี่ยนเป็น nitric oxide (NO) จับกับเอนไซม์ guanylyl cyclase เป็น cGMP ทําให้หลอดเลือดขยายตัว ส่งผลให้ความต้องการออกซิเจนของหวัใจลดน้อยลง
การดื้อยา
เกิดจากการที่กลุ่มซัลไฮดริลเนื้อเยื่อลดลงซึ่ง
่สามารถแก้ไขโดย ให้สารที่มีกลุ่มซัลไฮดริล เช่น acetylcysteine
ยาในกลุ่มไนเตรทถูกดูดซึมได้ดี
จากทางเดินอาหาร เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ตับ
มีรูปแบบอมใต้ลิ้น
เพื่อให้ยาถูกดูดซึมอย่างรวดเร็ว ยารับประทานชนิดออกฤทธิ์เนินและชนิดแปะผิวหนังเพื่อให้ยาออกฤทธิ์นานขึ้น
อาการข้างเคียง :
ความดันโลหิตต่ำขณะเปลี่ยนอิริยาบท
(postural hypotension, orthostatic hypotension) หัวใจเต้นเร็ว ปวดหัว
วิงเวียน อ่อนเพลีย เป็นลม methemoglobinemia
Isosorbide dinitrate (Isordil ) , isosorbide mononitrate
(ISMO) , nitroglycerin(NTG)
ยากลุ่มใน calcium channal blockers
การรักษาเป็นการรักษาตามอาการเท่านั้น
diltiazem, verapamil, nifedipine, และ amlodipine
มีการขยายหลอดเลือดทําให้หลอดเลือดไปเลี้ยงหัวใจ เพิ่มมากขึ้น ลดการทํางานของหัวใจทําให้ความต้องการออกซิเจนลดลง
ยารักษาอาการหัวใจล้มเหลว
(Drugs used in congestive heart failure)
ยาในกลุ่มอนพุันธ์ของ
bipyridines
ยับยั้งเอนไซม์ phosphodiesterase
รักษาภาวะหัวใจล้มเหลวแบบเฉียบพลัน ในระยะสั้น
Amrinone, milrinone
ยาในกลุ่ม digitalis และ cardiac glycosides
ระดับยา
ที่ทําให้เกิดอาการพิษมีค่าใกล้กันมาก
(therapeutic index แคบ) การให้ยาในกลุ่มนี้จึงต้องมีความระมัดระวัง
เพราะอาจทําให้เกิดอาการพิษได้
ระดับของโปตัสเซียมจะมีผลต่อฤทธิ์ของ cardiac glycoside
ในภาวะโปตัสเซียมในเลือดต่ำจะพบการเพิ่มของ cardiac glycoside
ได้จากพืชหลายชนิด
เช่น Digitalis lanata ,Digitalis purpurea และสัตว์
ยับยั้ง Na+, K+ ATP ase
เพิ่มแรงบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
การดูดซึมของ digoxin
อาจทําให้เกิด ปัญหาทางคลินิกได้
ความเป็นพิษของ digitalis glycoside
ประมาณร้อยละ 25 มีอาการ ไข้ อาเจียน ถ่ายท้อง เวียนหัว การมองเห็นผิดปกติ
จะเห็นแสงสีเขียวหรือสีเหลือง ปัสสาวะเพิ่มขึ้น
ชีพจรเต้นช้าลง เหงื่อออก ตัวเย็น ชัก เป็นลม และอาจถึงตาย
การรักษาอาการพิษ
ใช้electrical countershock
ให้ยารักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
หยุดให้ digitalis glycoside หรือ ยาขับปัสสาวะ
ข้อจํากัดของยาในกลุ่ม digitalis
ต้องให้ยาทางหลอดเลือดดํา
amrinone dopamine dobutamine ใช้ในกรณีฉุกเฉินเท่านั้น
ปัจจัยที่มีผลต่อความเป็นพิษ
ให้ยาในขนาดสูง
หรือให้ร่วมกับยาขับปัสสวะซึ่งทำให้
โปแทสเซียมในเลือดต่ำ
อาจจะเกิดจากการเปลี่ยนตํารับยา
มี bioavailability เพิ่มขึ้น
หรือมีการดูดซึมยาดีขึ้นมีการขจัดยาลดลง
การลดระดับโปตัสเซียมหรือแมกนีเซียม
หรือเพิ่มระดับแคลเซียมในเลือดทำให้อาการเป็นพิษรุนแรงขึ้น
และภาวะ hypothyroidism ทำให้อเกิดอาการพิษรุนแรงได้
ยาในกลุ่ม
sympathomimetic agents
Dopamine
อาการข้างเคียง : bradycardia, ventricular tachycardia
อาจทําให้อาการกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดรุนแรง การขาด
เลือดไปเลี้ยงอวัยวะส่วนปลาย gangrene HTN, anxiety
เพิ่ม CO, BP, RBF แก้ไขภาวะ acidosis, hypercapnia,
hypervolemia, hypoxia ก่อน
ห้ามใช้ร่วมกับ Dilantin จะทำให้ BP ต่ำและหัวใจเต้นช้า
ห้ามใช้พร้อมสารละลายด่างรักษา symptomatic bradycardia
ที่รักษาด้วย atropine ไม้ได้ผล หรือ ภาวะโลหิต่ำที่ไม่ได้เกิดจากการขาดเลือดหรือสารละลายในร่างกาน
dobutamine
ผลข้างเคียง :
หัวใจเต้นผิดจังหวะ เจ็บแน่นหน้าอก คลื่นไส้ อาเจียน
แพ้ยา หอบเหนื่อย หายใจลําบาก การร่ว ของยารั่วออกนอกเส้นเลือด
ห้ามให้พร้อม :
acyclovia, aminophylline, calcium, diazepam
digoxin, heparin, magnesium, phenytoin, potassium, verapamil
ห้ามให้ในผู้ป่วย
hypovolemia, idiopathic hypertrophic subaortic
stenosis ระวังในผู้ป่วย MI, coronary artery disease, arrhythmia
ห้ามผสมยาในสารละลาย
ที่มีความเป็นด่าง ผสมแล้วเก็บได้ 24 ชั่วโมง
Arginine vasopressine receptor antagonists
Tolvaptan
ใช้รักษาภาวะ hypervolemic/euvolemic hyponatremia
ใน pt HF/SIADH (syndrome of inappropriate antidiuretic hormonesecretion)
เสริมใน pt volume overload ซึ่งไม่ตอบสนองต่อ diuretics แม้ไม่มี hyponatremia
Angiotensin converting enzyme inhibitors (ACEI)
ลด afterload ลด preload ลด cardiac remodelling ลดการทํางานของหัวใจช่วยให้หัวใจบีบตัวดีขึ้น(ฤทธิ์โดยอ้อม) ลดอัตราการตาย ลดอัตราการอยู่โรงพยาบาล
Mineralocorticoid receptor Antagonists
, MRA Aldosterone antagonist, AA
spironolactone, eplerenone
ขนานต่ำ ) ใช้ในผู้ป่วยที่การทํางานของไตปกติ ลดอัตราการตายใน ผู้ป่วย NYHA class III-IV (Monitor
Cr< 2.5. serum K < 5)
Beta-Blockers
Bisoprolol, metoprolol, carvedilol, nebivolo
ต้านฤทธิ์ของ Sympathetic nervous system ลดการเกิด remodelling,
ลดความรุนแรงของโรค
ลดอัตราการตายในการศึกษาต่างๆ ลดอัตราการอยู่รพ.ให้โ้ดยการรับประทานน ให้ร่วมกับยาอื่น เช่น ACEI,digoxin
Nesiritide
ขยายหลอดเลือด
ลด afterload/preload ยับยั้ง cardiac remodelling
Ivabradine
ยับยั้งเฉพาะเจาะจงที่ If channel ที่ sinus node cardiac pacemaker current (Selective If inhibitor) ลด cardiac pacemaker
activity เเละลดอัตราการเต้นของหัวใจโดยไม่มีผลต่อแรงบีบตัว
ยารักษาอาการหัวใจเต้นผิดจังหวะ
Class IV
(ฤทธ ิ์หลักคือ block Ca channel)
verapamil,diltiazem
ผลทําให้การสร้างไฟฟ้า และ การนําไฟฟ้าของ SA node
A.V.node ลดลง หวัใจบีบตัวลดลง และ หลอดเลือดขยายตัว
Other drugs
(ยาที่ไม่สามารถจัดเข้าไปอยูในกลุ่มใดได้)
Class I (ฤทธิ์หลักคือ block Na channel)
Class IA : quinidine, procainamide, disopyramide
Class IB : lidocaine, phenytoin, tocainide, mexiletine
Class IC : encainide, lorcainide, flecainide
ยับยั้งการนำโซเดียมเข้าสุู่เซลล์
กดการเกิด
phase O และลดการนําไฟฟ้าในเซลกล้ามเนื้อหัวใจ
ทําให้กด excitability, conductivity และ contractility
Class II (ฤทธิ์หลักคือ block β-adrenergic receptor
propranolol , acebutolol และ esmolol
อกฤทธิ์การปิดกั้น beta receptorและ ผลโดยตรงต่อ membrance
ต้องระวังผลในการกดแรงบีบตัวของหัวใจ,
bradyarrhythmias และ bronchospasm
Class III
(ฤทธิ์หลักคือ block K channel)
Bretylium, Sotalol Amiodarone
เป็นยาที่มีคุณสมบัติของ class IA, II, III และ IV ข้อจํากัดของการใช้ยา คือ การที่ยาไปสะสมในเนื้อเยื่อต่าง ๆ โดยเฉพาะใน cornea เป็นสีน้ำตาลเหลือง เกิด photodermatitis อาการทาง ประสาท ปวดหัว สั่น
Conclusion
Antiarrhythmic drugs
มีกลไกการออกฤทธิ์มากกวา 1 อย่าง
การจัดกลุ่มของยาเป็นเพียงการดูจากฤทธิ์หลัก
Antiarrhythmic drugs
อาจทําให้เกิดภาวะหัวใจเต้น
ผิดจังหวะได้ การใช้ยาในกลุ่มนี้จึงค่อนข้างมีข้อจํากัด
Amiodarone (class III)
จัดเป็นยาที่มีประสิทธภาพ และปลอดภัยสูงที่สุดในปัจจุบัน
การเพิม cost-benefit ratio
ของการใช้ยารักษาอาการหัวใจเต้นผิดจังหวะ
1.ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะที่รักษาต้องมีการวินิจฉัยได้อย่างถูกต้อง
2.เลือกใช้ยาให้เหมาะสมกับภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ โดยใช้ตามข้อบ่งชี้
3.เลือกใช้ขนาดยาให้เหมาะสม ถ้าเกิดอาการข้างเคียงควรลดขนาดาลงหรือเปลี่ยนยา
4.เลือกใช้ยา 2 ชนิดรวมกัน เพื่อเพิ่่ม cost-benefit ratio อาจเกิดอาการ
ข้างเคียงเพิ่มขึ้น เมื่อใช้ยาร่วมกันวรติดตามอาการ