Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบ ทางเดินหายใจ, หายใจออก, respiratory8, 4 (1), 350px-Illu_conducting…
ระบบ
ทางเดินหายใจ
:star:โครงสร้างทางเดินหายใจ :star:
ทางเดินหายใจส่วนบน :red_flag:
Pharynx
Larynx.
Nose.
เป็นทางผ่านของอากาศสู่ทางเดินหายใจส่วนล่าง/ ป้องกันสิ่งแปลกปลอมเข้าสู่ทางเดินหายใจส่วนล่าง /
ปรับอุณหภูมิและกรองความชื้น
ทางเดินหายใจส่วนล่าง :red_flag:
Trachea
bronchi
bronchioles
Lung
alveoli (ถุงลม)
-Superior lobe.
-Middle lobe.
-Inferior lobe.
เป็นทางผ่านของอากาศเข้าสู่ถุงลม/ สร้างน้ำเมือกดักจับสิ่งแปลกปลอม/สร้างสารเคลือบผิวบริเวณ alveolar cells. ไม่ให้ถุงลมแฟบขณะหายใจออก
ทรวงอก ( Thorax ) :red_flag:
Intercostal ribs.
Diaphragm.
Ribs.
:explode:กลไกการหายใจ :explode:
หายใจเข้า
ปริมาตรในช่องอกเพิ่มขึ้น
ความดันอาการศรอบปอดต่ำกว่าอากาศภายนอก
กระบังลมเลื่อนต่ำลง กระดูกซี่โครงเลื่ินสูงขึ้น
ทำให้อากาศภายนอกเข้าสู่จมูก หลอดลม ถุงลมปอด
หายใจออก
ความดันอากาศรอบปอดสสูงกว่าภายนอก
อากาศจากถุงลมปอดเคลื่อนจากถุงลมปอด หลอดลม ออกทางจมูก
ปริมาตรของช่องอกลดลง
กระบังลมเลื่อนสูงขึ้น กระดูกซี่โครงเลื่อนต่ำลง
กระบวนการหายใจเป็นการเเลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจน/คาร์บอนไดออกไซด์ เพื่อใช้ในกระบวนการเมตาบอลิซึมของเซลล์เนื้อเยื่อ
การขนส่งก๊าซ
ขนส่งออกซิเจนจากปอดไปเซลล์เนื้อเยื่อ ขนส่งคาร์บอนจาดเซลล์เนื้อเยื่อไปที่ปอด
การหายใจภายใน
เเลกเปลี่ยนก๊าซ เกิดขึ้นที่เซลล์และเนื้อเยื่อ
การหายใจภายนอก
การทำงานของปอด แลกเปลี่ยนออกซิเจนและคาร์บอนระหว่างเลือดที่ไหลเวียนในปอดกับอากาศข้างใน
:<3:การระบายอากาศและการไหลเวียนเลือดผ่านปอด :<3:
Inspiratory reserve volume (IRV)
-ปริมาตรของอากาศที่สามารถหายใจเข้าเพิ่มได้อีกจนเต็มที่ต่อจากการหายใจเข้าตามปกติ
Expiratory reserve volume (ERV)
-ปริมาตรของอากาศที่สามารถหายใจออกได้อีกจนเต็มที่ต่อจากการหายใจออกตามปกติ
Tidal volume (TV)
-ปริมาตรของอากาศที่หายใจเข้า/หายใจออกในครั้งๆหนึ่ง
Residual volume (RV)
-ปริมาตรของอากาศที่คงเหลือค้างอยู่ในปอด หฃังจากการหายใจเต็มที่
ความจุของปอด :explode:
Functinal residual capacity (FRC)
ERV+RV ค่าปกติประมาณ 2,200 ml.
Vital capacity (VC)
IRV+TV+ERV ค่าปกติประมาณ 4,800 ml.
Inspiratory capacity (IC)
TV+IRV
ค่าปกติประมาณ 3,800 ml.
Total lung capacity (TLC)
VC+RV ต่าปกติประมาณ 6,00 ml.
:recycle:การเเลกเปลี่ยนก๊าซระดับปอด :recycle:
Diffusion = การซึมผ่านของก๊าซ
perfusion "Q" = การไหลเวียนของเลือด ของเลือดดำผ่านถุงลม/รับก๊าซจากปอดไป pulmonary vein. ไปหัวใจห้องซ้าย
Ventilation "V" = การระบายอากาศ แลกเปลี่ยนที่ถุงลม alveolar ventilation
:<3:การประเมิณสมรรถนภาพของระบบหายใจ :<3:
Pulmonary function test.
Tidal volume (TV)
Force expiratory volume (FEV)
Functional residual volume
Forced vital capacity (FVC)
Arteral bliid gas.
ตรวจผู้ป่วย
ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยออกซิเจน
ผู้ป่วยในระหว่างดมยา
ผู้ป่วยในภาวะฉุกเฉิน
ผู้ป่วยในภาวะหัวใจล้มเหลว
ผู้ป่วยหนักและรุนแรงใน ICU
ผู้ป่วยที่มีภาวะเสียสมดุลกรด-ด่าง (ท้องร่วงรุนแรง/ได้รับสารพิษ)
pH = 7.35-7.45
PO2 = 80-100 mmHg.
PCO2 = 35-45 mmHg.
HCO3 = 22-26 mEq/L.
BE = -2 ถึง +2
O2 Saturation = 96-98%
ขั้นตอนการวิเคราะห์
หากค่า HCO3- > 26 = alkalosis ,
HCO3- < 22 = acidosis
ประเมินภาวะพร่องออกซิเจน ให้ดูจากค่า PaO2
61 – 80 = mild hypoxemia,
40 – 60 = moderate hypoxemia,
< 40 = severe hypoxemia
หากค่า PaCO2 > 45 mmHg. = acidosis,
PaCO2 < 35 mmHg. = alkalosis
หากค่า pH < 7.35 = acidosis , pH > 7.45 = alkalosis
Acid-base status abnormal -Respiratory acidosis
-Respiratory alkalosis
-Metabolic acidosis
-Metabolic alkalosis
:explode:Respiratory failure :explode:
Acute respiratory failure
ภาวะที่มีการพร่องของ O2 ในเลือดแดง (hypoxemia)
Pa O2 ต่ากว่า50 mmHg
CO2 คั่ง (hypercapnia) Pa CO2 สูงกว่า 50 mmHg เกิดข้ึนอย่างรวดเร็ว
Chronic respiratory failure
ร่างกายสามารถปรับตัวชดเชยโดยการสร้างเม็ดเลือดแดงเพิ่มข้ึน
ไตชดเชยภาวะเป็นกรด ด่างของร่างกายโดยการเก็บ HCO3- ไว้เพ่ิ่มขึ้น
ภาวะที่มีการพร่องของ O2 ในเลือดแดง และ CO2 สูงข้ึนอย่างค่อยเป็นค่อย
ไป
สาเหตุุ :warning:
ความผิดปกติที่ระบบประสาทส่วนกลาง
ความผิดปกติของระบบประสาทและกล้ามเนื้อ
ความผิดปกติที่ช่องทรวงอกและเยื่อหุ้มปอด
ความผิดปกติของระบบหัวใจและหลอดเลือด
ความผิดปกติที่ปอด
พยาธิสรีรวิทยา
การระบายอากาศกับการไหลเวีบยเลือดไม่สมดุลกัน
การลัด (right to left shunt.)
การระบายอากาศน้อย
การสูญเสียการวึมผ่านของก๊าซ
อาการ/อาการแสดง
หายใจเร็ว หายใจลำบาก/ชีพจรเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง/ระดับความรู้สึกเปลี่ยนไป สับสนไม่มีสมาธิ กระสับกระส่าย/เม็ดเลือดแดงเพิ่มขึ้น(เพิ่มออกซิเจนไปยังเลือด)
การวินิจฉัย
Arterial blood gas.
Chest X-ray (CXR)
อาการและอาการแสดงของภาวะหัวใจล้มเหลว
:<3:ความผิดปกติของการหายใจ :<3:
Dyspnea/plural pain/Abnormal breathingpatterns/ Hypoventilation and Hyperventilation /Cough/abnormal sputum
Restrictive pulmonary functtion.
ภาวะการขยายตัวของปอดถูกจำกัด
-เนื่องจากการขยายตัวของปอดถูกจำกัดทำให้ TLC/VC ลดลง หายใจเข้าลำบาก แต่แรงต้านการไหลอากาศปกติ
-ความยืดหยุ่นปอดลดลง ความจุลดลง
สาเหตุ :warning:
ปัญหาของ chest Wall.
โรคของเยื่อหุ้มปอด
มีการเปลี่ยนแปลงของเนื้อปอด
ภาวะการขยายตัวของปอดถูกจำกัด (พบบ่อย)
ปอดบวมน้ำ
ปอดขยายตัวไม่เต็มที่
พังผืดในปอด
น้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด
มีการสะสมของของเหลวในเยื่อปอด
Pneumonia
-Interstitial edema
มีการสะสมของเหลวใน peribronchial/perivascular space
-Alveolar edema.
เมื่อ Interstitial hydrostatic pressure สูงมากๆ ของเหลวจะเข้าไปใน alveolar
หลักการพยาบาล
-แก้ไขตามสาเหตุของภาวะนั้นๆ /แก้ไขภาวะ Hypoxemia/ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง/ตำแนะนำในการปฏิบัติเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่างๆ
การขับเสมหะในทางเดินหายใจ
การดูดเสมหะโดยใช้ลูกยางแดง
การดูดเสมหะด้วยสายดูดเสมหะ
-Nasopharyngeal and Oropharyngeal Suctioning
-Endotracheal and tracheostomy Suctioning
การหายใจอย่างถูกวิธีและการไออย่างมีประสิทธิภาพ
Obstructive pulmonary function.
ภาวะที่มีการอุดกั้นของทางเดินหายใจ
กลุ่มที่ผนังท่อทางเดินหายใจบวมหดตัว
เกิกภาวะอุดกั้นของทางเดินหายใจ อาจเป็นอย่างเฉียบพลัน/เรื้อรัง เช้น Asthma, Chronic bronchitis.
สาเหตุ :warning:
การสูบบุหรี่
ภาวะเครียด
การแพ้ยา สารบางอย่าง อากาศเย็น
การออกกำลังกาย
การติดเชื้อ แบคทีเรีย ไวรัส
พยาธิสรีรวิทยา
การติดเชื้อ ระคายเคืองเยื่อบุช่องหลอดฃมเรื้อรัง ทำให้เยื่อบุหลอดลมหนาและแข็ง มีเสมหะมาก รูหลอดลมตีบแคบ หากเกิดเรื้อรังทำให้การทำงานของหัวใจล้มเหลวจากการทำงานที่ผิดปกติของปอด ( Corpulmonale cilia)
การแพ้ยา สารบางอย่าง หลั่งสารเคมีจากปฏิกิริยาภูมิแพ้ทำให้ bronchial smoot cell หดตัว เยื่อบุผนังหลอดลมบวม สร้างเสมหะมากขึ้น ทำให้รูหลอดลมตีบแคบ
ลักษณะทางคลินิก
hypoxia,cysnosis
hypercapnia
mild hyperinflamation
ไอ มีเสมหะเหนียวข้น
โรคหลอดลมโป่งพอง
เป็นภาวะที่หลอดลมเสียหายอย่างถาวร ส่งผลให้มีแบคทีเรียและสารคัดหลั่งสะสมภายในปอด ทำให้ผู้ป่วยเสี่ยงติดเชื้อและเกิดการอุดตันของทางเดินหายใจ โรคนี้ไม่มีวิธีรักาาให้หายขาด ทำได้เพียงควบคุมไม่ให้กำเริบ
กลุ่มที่มีแรงดันบริเวณรอบๆนอกท่อทางเดินหายใจ
แรงดันที่เพิ่มขึ้นจากบริเวณรอบๆนอกท่อทางเดินหายใจ ทำให้เกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจ เนื่องจากมีการสูญเสียแรงตึงตัวของผนังถุงลม
พบในโรคถุงลมโป่งพอง/โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ----->มีลม/อากาศอยู่ใน terminal bronchiole มีการทำลายผนังของถุงลม จึงทำให้มีลักษระโป่งออกของถุง
สาเหตุ :warning:
occupation
infection
air pollution
familial&genetic factor:alph
smoking
ลักษณะทางคลินิก
pink puffers
ทรวงอกมีลักษณะ barrel chest
Dyspneaa
hypoxemia ขนาดน้อย/ปานกลาง
หลักการพยาบาล
แก้ไขภาวะของ hypoxemia
แนะนำภาวะโภชนาการ
รักษาทางเดินหายใจให้โล่ง
แนะนำปฏิบัติตนให้หลีกเลี่ยงสาเหตุต่างๆ
กลุ่มที่รูท่อทางเดินหายใจอุดตัน
ทำใหตีบแคบ/มีผลต่อการไหลของอากาศ
สาเหตุ :warning:
การสูบบุหรี่
การสำลักสิ่งแปลกปลอมเข้าไปในหลอดลม
การระคายเคืองจากสารพิษ
ได้รับบาดเจ็บต่อทางเดินหายใจ
เนื้องอก
ติดเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส
ต่อมน้ำเหลืองโตเบียดทางเดินหายใจ
มีสิ่งแปลกปลอม/เสมหะจำนวนมาก หรือสำลักน้ำ,สารน้ำบางอย่างเข้าไปในรูทางเดินหายใจ
พยาธิสรีรวิทยา :fire:
-การระคายเคือง/ติดเชื้อของท่อทางเดินหายใจบ่อยๆทำให้ cillia ผิดปกติ ขจัดเสมหะหรือสิ่งแปลกปลอมลดลง
เนื้องอก/ต่อมน้ำเหลืองโตเบียดท่อทางเดินหายใจ มีแรงต้านการไหลของอากาศหายใจมากขึ้น เกิดภาวะ atelectasis
ลักษณะทางคลินิก :star:
breath sound เบาๆ
หายใจมีเสียงดัง หน้าอกบุ๋ม
หายใจลำบากมีเสียงวี้ดๆ
tachycardia
ไอมีเสมหะเหนียวข้น
severe hypoxia
ไข้สูง หนาวสั่น