Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 2 พฤติกรรมทางการศึกษา - Coggle Diagram
หน่วยที่ 2 พฤติกรรมทางการศึกษา
ความสำคัญ
เป็นคุณลักษณะของผู้เรียนที่เกิดจากการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
ผู้สอนจำเป็นต้องทราบรายละเอียดของจุดมุ่งหมายทางการศึกษาอย่างชัดเจน
เนื้อหาที่ได้เรียน
การจำแนกพฤติกรรมทางการศึกษา (บลูม และคณะ)
ด้านพฤติกรรมจิตพิสัย (จิตใจ)
ขั้นเห็นคุณค่าหรือสร้างค่านิยม
ขั้นจัดระบบค่านิยม
ขั้นตอบสนอง
ขั้นสร้างลักษณะนิสัยจากค่านิยม (ขั้นสุดท้าย)
ขั้นรับรู้ (ขั้นแรก)
ด้านพฤติกรรมทักษะพิสัย (ความสามารถด้านกล้ามเนื้อ/ร่างกาย)
การปฏิบัติได้ด้วยตนเอง
การตอบสนองที่ซับซ้อน
การตอบสนองตามแนวชี้แนะ
การดัดแปลง
การเตรียมความพร้อม
การริเริ่ม
การรับรู้
ด้านพฤติกรรมพุทธิพิสัย (ความสามารถทางสมอง)
การนำไปใช้
เป็นความสามารถในการนำหลักการต่าง ๆ ที่ได้รู้ นำไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ใหม่ได้
การวิเคราะห์
การวิเคราะห์หลักการ
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์
การวิเคราะห์ส่วนประกอบ
ความเข้าใจ
การขยายความ
การตีความ
การแปลความ
การสังเคราะห์
การสังเคราะห์แผนงานหรือเสนอโครงการดำเนินงาน
การสังเคราะห์ความสัมพันธ์ ของสิ่งที่เป็นนามธรรม
การสังเคราะห์ข้อความ หรือการถ่ายทอดความคิด
ความรู้
ความรู้รวบยอดและนามธรรมในแต่ละเนื้อเรื่อง
เกี่ยวกับหลักวิชาและข้อสรุปอ้างอิง
ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีและโครงสร้าง
ความรู้เกี่ยวกับวิธีดำเนินการเฉพาะอย่าง
เกี่ยวกับเกณฑ์
เกี่ยวกับวิธีการ
เกี่ยวกับการจำแนกประเภทและจัดกลุ่ม
เกี่ยวกับลำดับขั้นและแนวโน้ม
เกี่ยวกับระเบียบแบบแผน
ความรู้เฉพาะเจาะจง
เกี่ยวกับข้อเท็จจริงเฉพาะ
เกี่ยวกับคำศัพท์และนิยาม
การประเมินค่า
การตัดสินโดยอาศัยข้อเท็จจริงภายในเหตุการณ์
การตัดสินโดยใช้เกณฑ์ภายนอก
นักวิชาการจัดกลุ่มพฤติกรรมทางการศึกษาใหม่
กลุ่มพฤติกรรมด้านเจตคติ (Attitude : A )
เป็นพฤติกรรมทางจิตใจ
ค่านิยม
คุณธรรม
ความเชื่อ
จริยธรรม
ความคิดเห็น
ตรงกับพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
ความรู้สึก
กลุ่มพฤติกรรมด้านกระบวนการเรียน (Process : P)
เป็นพฤติกรรมในการใช้สติปัญญา
คิดแก้ปัญหา
ตรงกับพฤติกรรมด้านทักษะพิสัย
แสวงหาความรู้
ปฏิบัติงานหรือกิจกรรม
กลุ่มพฤติกรรมด้านความรู้ (Knowledge : K)
เป็นพฤติกรรมของสมอง
การจำ
เข้าใจ
ตรงกับพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
คุณภาพของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สมรรถนะสำคัญของนักเรียน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
จุดหมาย
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิสัยทัศน์
การนำความรู้ไปใช้
สามารถจัดกลุ่มพฤติกรรมการเรียนรู้ K P A ได้
สามารถจำแนกพฤติกรรมการเรียนรู้พุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัยได้
อธิบายพฤติกรรมการเรียนรู้ในแต่ละด้านได้